โครงการอบรม โปรแกรม Autodesk Inventor รุ่นที่ 22

21 - 23 มิถุนายน 2564


หลักการและเหตุผล

           แม้ในปัจจุบันการใช้โปรแกรมทางด้านCADได้เป็นที่ยอมรับทั่วไปว่าเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการเพิ่มขีดความสามารถในการออกแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในรูปแบบ3 มิติและการวิเคราะห์การทํางานของระบบกลไก ซึ่งส่งผลให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน ในด้านการผลิตสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพและใช้เวลาน้อยกว่าเดิม รวมทั้งการวิเคราะห์กลไกต่างๆ ว่าสามารถทํางานได้จริง และด้วยความสามารถของโปรแกรมนี้ยังผลิตภาพเคลื่อนไหวในการถอดหรือประกอบชิ้นงานเพื่อใช้ในงานนําเสนอต่างๆดังนั้นทางภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จึงได้จัดอบรมในหลักสูตรนี้ขึ้น เพื่อมุ่งหวังให้ผู้ประกอบการธุรกิจทางด้านอุตสา หกรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์วิศวกร และนักศึกษาที่เข้ารับการอบรมหลักสูตรนี้แล้ว สามารถนําความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมAutodesk Inventorไปใช้งานจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

 

วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในพื้นฐานต่างๆ ของโปรแกรมAutodesk Inventorและสามารถนําไปประยุกต์เป็นเครื่องมือช่วยในงานออกแบบผลิตภัณฑ์และระบบกลไกได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เพื่อให้สามารถใช้โปรแกรมAutodesk Inventor ในการสร้างชิ้นงาน การสร้างภาพAssemblyการจําลองการทํางานของกลไกเบื้องต้น การสร้างภาเคลื่อนไหวในการถอดประกอบเครื่องจักร

เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับวิทยากรและผู้เข้าอบรมด้วยกันเอง

หัวข้อการฝีกอบรม

การสร้าง3D Solid Modelingการ Sketchและการกําหนดขนาดแบบ2D Sketch /การกําหนด Plane /การRevolve, Extrude, Chamfer, Holdและอื่นๆ / การกําหนดProject, Workplaceและการสร้างFileใหม่

การสร้างงานประกอบ3 มิติการสร้างFiles Assembly /การเรียกชิ้นงานเข้ามาในAssembly /การใช้Assembly Constraints /การทดสอบการเคลื่อนไหวของกลไก

การสร้างภาพฉายการสร้างภาพฉายTop, FrontและSide /การสร้างภาพตัด / การกําหนดDimension /การสร้างหมายเลขชิ้นส่วนและPart list 

การสร้างชิ้นงานพับและแผ่นคลี่โลหะแผ่นการสร้างแผ่นพบั / การสร้างแผ่นคลี่งานพับ / การสร้างDrawingและการกําหนดขนาด

การสร้างงานเคลื่อนไหวสําหรับเครื่องจักรที่มีระบบขับเคลื่อนการสร้างภาพแยกชิ้น 3 มิติ (Explode View) /การทํา AV1 เพื่อแสดงการประกอบชิ้นงาน

การสร้างAdaptive Parts E-mail : [email protected] , http://www.training.mut.ac.thAdaptive Sketches / Assembly Adaptive Parts / Driving Constraints

Advance Features Shell, Rid, Loft, Sweep, Coil, Tread, Face Draft, Shift / Derived Component, Mirror Feature / 3D Sketch

แบบฝึกหัด

สรุป

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม

วิศวกรทางด้านการออกแบบการผลิต

นักวิชาการ/อาจารย์

นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ทุกสาขาวิชา

บุคคลที่สนใจทั่วไป

รูปแบบการอบรม

บรรยาย+ฝึกปฎิบัติ

 

 

วันที่รับสมัคร

01/01/2564 - 07/06/2564

 

 

ข้อมูลวันที่อบรม

ลำดับ     วันที่อบรม             สถานที่อบรม         เวลาอบรมบรรยายเวลาอบรมปฏิบัติ

1.           21/06/2564 - 23/06/2564            มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร         18 ชม.   18 ชม.

ค่าใช้จ่าย

7,900.00 บาท

 

 

โปรโมชั่น

1.สมัครอบรม3 ท่าน ฟรี1 ท่าน

2.ชำระค่าลงทะเบียนก่อนการอบรม3 สัปดาห์ ลด5%

3.ศิษย์เก่า นักศึกษาและบุคลากร รับส่วนลด10%


คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

วิศวกรทางด้านการออกแบบการผลิต นักวิชาการ/อาจารย์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ทุกสาขาวิชา บุคคลที่สนใจทั่วไป

วิทยากร

ดร.วิวัฒน์ ประเสริฐมานะกิจ

สถานที่อบรม (VENUE)

สำนักฝึกอบรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

21 - 23 มิถุนายน 2564 9.00 - 16.00 น.

จัดโดย

สำนักฝึกอบรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
เบอร์ติดต่อ : 02-988-3655 ต่อ 2360-1, 092-246-4638

ค่าธรรมเนียม (FEE)

7900 (รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว)

ผู้เข้าชม: 680 ครั้ง