แนวปฏิบัติของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล(DPO) ประจำองค์กร ที่ครบถ้วน ในทุกมิติ

9 ตุลาคม 2567


หลักการและเหตุผล

แนวปฏิบัติเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้การดำเนินการตามกฎหมายเป็นไปอย่างสมเหตุสมผล ซึ่งกฎหมายโดยทั่วไปแล้วจะบัญญัติไว้เพียงในระดับที่กำหนด "การห้าม" เป็นหลักการไว้เท่านั้น แต่ในขั้นตอนปฏิบัติย่อมไม่สามารถระบุรายละเอียดวิธีการได้โดยสมบูรณ์ จึงมีคำถามเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติว่าควรทำ "อย่างไร" เพื่อให้องค์กรสามารถดำเนินกิจการให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลได้

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO)ประจำองค์กร ที่กฎหมายกำหนดให้มีขึ้นพร้อมบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ เป็นผู้ให้คำแนะนำและตรวจสอบการดำเนินการของผู้ประกอบการให้เป็นไปโดยถูกต้องตามกฎหมายฉบับนี้ จึงมีคำถามเกิดขึ้นมากมายว่า แล้วDPOควรมีภาระกิจและแนวการปฏิบัติงานอย่างไร ?

 

วัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม

1.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและสาระสำคัญของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562

2.เพื่อสร้างความเข้าใจในกระบวนการเตรียมความพร้อมขององค์กร เพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขตามกฎหมาย

3.สามารถจัดทำแนวปฏิบัติเพื่อการประเมินความเสี่ยง/ผลกระทบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ตามของเขตDPIAและ ทบทวน (Review)การปฏิบัติภายในองค์กร ว่ามีความเพียงพอหรือสอดคล้องตามกฎหมายแล้วหรือไม่

4.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานในบทบาทของ เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO)ได้อย่างมีประสิทธิภาพ  

 

หัวข้อการอบรม

1. เหตุผลและความเป็นมาของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562

2. สาระสำคัญของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

·      ข้อมูลส่วนบุคคลคืออะไร และใครคือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล

·      ตัวบุคคลและบทบาทหน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (Data Controller)ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Data Processor) และเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO)

·      สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล และการใช้สิทธิต่าง ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด

·      หลักการขอความยินยอม - การเก็บ - การใช้ - การเปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคล

·      ฐานในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลได้โดยชอบด้วยกฎหมาย

·      มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลตามที่กฎหมายกำหนด

·      แนวปฏิบัติในการโอนหรือส่งข้อมูลส่วนบุคคลไปต่างประเทศ

·      ความรับผิดและบทลงโทษตามกฎหมาย ทั้งทางแพ่ง - ทางอาญา - โทษทางปกครอง

·      แนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล

3. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมกับ15 ภารกิจที่องค์กรต้องดำเนินการ

4.  แนวทางการจัดทำPrivacy Policy, Privacy Noticeและ Consent 

5. การจัดเตรียมเอกสารและแบบฟอร์มต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับPDPAอาทิ

·              บันทึกรายการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Record of Processing Activities)

·              หนังสือให้ความยินยอม (Consent From)

·              หนังสือแจ้งการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Notice)

·              ข้อตกลงประมวลผลข้อมูล (Data Processing Agreement) 

·              คำร้องขอใช้สิทธิต่างๆ ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (Request )

·              หนังสือตอบกลับการใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (Data Subject Rights Responding)

·              หนังสือแจ้งเหตุ การละเมิดข้อมูลส่วนบุคล (Personal Data Breach Notification)

6. แนวการทบทวน (Review) การปฏิบัติภายในองค์กร ว่ามีความเพียงพอหรือสอดคล้องตามมาตรฐานการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่

7. แนวปฏิบัติการประเมินผลกระทบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล DPIA (Data Protection Impact Assessment) และการวิเคราะห์ความเสี่ยง/มาตรการจัดการความเสี่ยง

8. ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคลที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายในการปฏิบัติงานของฝ่ายขายและการตลาด

   (Guideline for Marketing and Sales)

9. ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคลที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายในการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง

    (Guideline for Procurement Department)

        10. ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคลที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายในการปฏิบัติงานของฝ่าย HR

               (Guideline for HR Department)

        11.  แนวปฏิบัติสำหรับฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Guideline for IT Department) ในการสนับสนุนPDPA

       12.  การเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Officer

              Guideline)

·                        ความจำเป็น ทักษะและคุณสมบัติที่เหมาะสมของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

·                        ข้อควรระวังที่มีต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

·                        ความรับผิดของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

·   6 ภารกิจหลัก กับ11 แนวปฏิบัติที่อยู่ในความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ตามมาตรา42

o การให้คำปรึกษา/ทบทวนการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลขององค์กร

o การตรวจสอบการปฏิบัติงานขององค์กรให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด

o การควบคุมดูแลให้การปฏิบัติเป็นไปตามนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลทั้งภายในและภายนอก

o การให้ความร่วมมือและการประสานงานกับหน่วยงานด้านการกับกับดูแลข้อมูลส่วนบุคคล (สคส.)

o การจัดการข้อร้องเรียนและแจ้งเหตุละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล

          13.  แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการการจัดทำข้อมูลนิรนาม (Guideline for Anonymization)

          14.  แนวปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลอ่อนไหว (Guidelines for Sensitive Personal Data)

          15.  ฝึกปฏิบัติ (Workshop)

                                   -การจัดทำPersonal Data Discovery

                                   -การจัดทำบันทึกรายการประมวลผลข้อมูลฯ (ROPA)

                                   -การร่างนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และแบบฟอร์มPDPAที่เกี่ยวข้อง

      16.สารพันปัญหาในการปฏิบัติตาม PDPA พร้อมแนวทางแก้ไข สำหรับเจ้าหน้าคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

       

คุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรม

นายจ้าง และ เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล(DPO)



สถานที่อบรม (VENUE)

สถานที่ @ โรงแรม แรมแบรนดท์ สุขุมวิท สุขุมวิท ซอย 18 ใกล้ BTS อโศก กรุงเทพฯ ** สถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

9 ตุลาคม 2567 09.00-16.00 น.

จัดโดย

ดีทีเอ็นเทรนนิ่ง
เบอร์ติดต่อ : 096-669-5554 ,064-325-4946

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 61 ครั้ง