เปิดสมัคร
ยืนยัน หลักสูตร กฎหมายคุ้มครองแรงงาน พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน
ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง26ตุลาคม
2563
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้นายจ้าง-ผู้บริหารงานบุคคลทราบถึงการทำสัญญาจ้าง-เทคนิคการแก้ไข-เปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างและการออกระเบียบปฏิบัติเพื่อให้สวัสดิการที่จ่ายให้ลูกจ้าง
ไม่ให้เป็นค่าจ้าง ต้องเขียนอย่างไร..?
- เพื่อให้ผู้บริหารงานบุคคลและหัวหน้างานทราบหรือเข้าใจถึงกรอบในการลงโทษทางวินัยต่อพนักงานและการพิจารณาความผิดที่กำหนดลงโทษทางวินัยความผิดลักษณะใดเป็นการตักเตือนหรือในกรณีใดเป็นความผิดที่ร้ายแรงถึงจะต้องมีการเลิกจ้างพนักงาน
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติได้จริงในการออกหนังสือเลิกจ้างในกรณีต่างๆ
เขียนให้ดีให้มีผลทางกฎหมายและป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลังได้ต้องเขียนอย่างไร..?
หัวข้อในการอบรม
หมวด1:
การแก้ไข-เปลี่ยนแปลง
สภาพการจ้าง
- นายจ้างทำสัญญาจ้างกับลูกจ้างที่ขัดต่อกฎหมาย
บังคับใช้ไม่ได้ (เป็นโมฆะ) มีกรณีใดบ้าง..?
- ยกตัวอย่าง
การทำสัญญาจ้าง7กรณี
พร้อมคำอธิบาย
- นายจ้าง
มีสิทธิเรียก-รับเงินประกัน การทำงานกับลูกจ้างมีกรณีใดบ้าง..?
- ยกตัวอย่าง
ตำแหน่งงานที่เรียก-รับเงินประกันได้7กรณี พร้อมคำอธิบาย
- สภาพการจ้างที่เกิดขึ้นจากนายจ้างได้กำหนดขึ้น
มีกรณีใดบ้าง..?
- ยกตัวอย่าง
สวัสดิการที่ลูกจ้างได้รับ5กรณี
พร้อมคำอธิบาย
- สภาพการจ้างที่เกิดขึ้นจากข้อตกลงระหว่างนายจ้าง
กับลูกจ้าง มีกรณีใดบ้าง..?
- ยกตัวอย่าง
ข้อตกลงที่กำหนดขึ้นร่วมกัน5กรณี
พร้อมคำอธิบาย
- กรณีนายจ้างมีนโยบาย-แก้ไข-เปลี่ยนแปลง-ยกเลิก
สภาพการจ้าง ต้องดำเนินการอย่างไร..?
- ยกตัวอย่าง
การเปลี่ยนแปลง สวัสดิการ5กรณี พร้อมคำอธิบาย
- กรณีลูกจ้างมีความประสงค์เปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างหรือ
เปลี่ยนแปลงข้อตกลงสภาพการจ้าง ปฏิบัติให้ถูกกฎหมาย ต้องดำเนินการอย่างไร..?
- ยกตัวอย่าง
การเปลี่ยนแปลง5กรณี
พร้อมคำอธิบาย
- นายจ้าง-ลูกจ้างตกลงกันกำหนดเหมาจ่ายค่าล่วงเวลาวันละ2
ชั่วโมงรวมกับค่าจ้างในแต่ละวันทำได้ไหมเพราะอะไร..?