เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร การค้าระหว่างประเทศ นำเข้า-ส่งออก ทั้งระบบ 30 พฤศจิกายน 2566

30 พฤศจิกายน 2566


เปิดรับสมัคร ยืนยัน หลักสูตร การค้าระหว่างประเทศ นำเข้า-ส่งออก ทั้งระบบ  30 พฤศจิกายน 2566

 

จัดอบรม ผ่านระบบOnline Zoom Meeting

ราคา2,500บาท/ท่าน09.00-16.00

 

หลักการเเละเหตุผล

การส่งออกและนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้นตามการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศและของโลก ประกอบกับการค้าวิถีใหม่NEW NORMAL  เป็นการค้าในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความสะดวก รวดเร็ว ผู้ปฏิบัติต้องมีความพร้อมในการประกอบธุรกิจอย่างชาญฉลาด ทันสมัย ตามการค้าของโลกที่เปลี่ยนไปเร็วมาก

สิ่งที่ผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า-ส่งออก,นักธุรกิจ,ผู้ผลิต,ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อต่างประเทศ,นายหน้าหรือตัวแทนการค้า,รวมทั้งพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวและผู้สนใจทั่วไป จำเป็นต้องศึกษาเรียนรู้ในเรื่องของการค้ายุคใหม่ที่นำเอาระบบLogistics & Supply Chainมาบริหารจัดการให้ได้รับประโยชน์สูงสุดเพื่อให้การประกอบธุรกิจเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้ม ค่ากับการลงทุน

 

หัวข้อเนื้อหา

ความรู้ทางด้านการค้าระหว่างประเทศ (Import -Export Operations)
ความหมายของการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
วิธีการชำระเงิน และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในการชำระเงินระหว่างประเทศ
เอกสารที่ควรจัดเตรียมในการนำเข้าสินค้า
สำหรับพิธีการชำระอากร พิธีการวางประกัน พิธีการขนถ่ายข้างลำ
พิธีการคลัง สินค้าทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากร ต้องมีเอกสาร
พักเบรก
ขั้นตอนในการส่งสินค้า และการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องทางการค้าระหว่างประเทศ
เอกสารทางการเงิน (Financial Document)
เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document)
เอกสารทางการค้า (Commercial Document)
พักรับประทานอาหารกลางวัน
การเตรียมความพร้อมในการดำเนินธุรกิจส่งออกและนำเข้าในระบบโลจิสติกส์ ภายใต้พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2560
-
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการนำเข้าตาม พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ.2560
ความรับผิดในการเสียค่าอากร การคำนวณค่าภาษีอากร
อายุความในการประเมินอากรหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit)
สินค้าที่มีมาตรการนำเข้าและส่งออกตามพระราชบัญญัติ ฯ พ.ศ.2558
สินค้าต้องห้าม-ต้องกำกัด
สินค้าที่ห้ามนำผ่านและผ่านได้
สินค้าที่ต้องมีมาตรฐาน
e-Import :
การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนำเข้า
หลักเกณฑ์ด้านพิกัดอัตราศุลกากร (HS Code)พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน (AHTN)
หลักเกณฑ์ด้านราคาศุลกากรGatt Valuationในการประเมินภาษีอากรในการนำเข้า
หลักเกณฑ์การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีอากรว่าด้วยการเปิดเสรีทางการค้า
การยกเว้นหรือลดอัตราอากรสำหรับเขตการค้าเสรี (FTA)
พักเบรก
การตรวจสอบสิทธิก่อนและหลังการนำสินค้าเข้า
การรับรองแหล่งกำเนิดด้วยตนเอง (Self Certification)
e-Export:
พิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าส่งออก
การยกเว้นอากรสำหรับของส่งออกแล้วจะนำกับเข้ามาในภายหลัง (สุทธินำกลับ)
การขอคืนอากรสำหรับสินค้าที่นำเข้ามาแล้วส่งกลับออกไป (Re-Export)
การคืนอากรสำหรับของที่นำเข้ามาผลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือดำเนินการด้วยวิธีอื่นใด(มาตรา29)
การใช้สิทธิประโยชน์ของคลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse)เขตปลอดอากร (Free Zone)เขตประกอบการเสรี (I-EAT Free Zone)
การขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรสำหรับสินค้าส่งออก (Tax Coupon)
ปัญหา ข้อควรระวัง และแนวทางในการแก้ไขข้อผิดพลาดการนำเข้า-ส่งออก
การรับรองป้องกันภัยจากการก่อการร้ายจากมาตรฐานเออีโอ (AEO) and (C-TPAT)
สรุปการบรรยาย

 

วิทยากร อาจารย์ วิรัตน์ บราหยัน

 

 

 

โปรโมชั่น พิเศษดังกล่าว สงวนสิทธิ์เฉพาะ

บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เท่านั้น

 

อบรมแบบ ONLINE ผ่าน ZOOM

เวลาอบรม 09.00-16.00ได้รับใบประกาศนียบัตร

ราคา  2,500บาท

โปรโมรชั่นสมัครเข้าอบรม4ท่าน ชำระเพียง 3ท่าน

 

 

รูปแบบการบรรยาย

 การบรรยายออนไลน์ เรียนผ่านZoom มีวิธีใช้งานให้ก่อนวันอบรมจริง1-3วัน หลังจากสมัครอบรมเเล้ว

โดยสามารถเรียนผ่านคอมพิวเตอร์ หรือมือถือ โดยต้องเช็คชื่อออนไลน์พร้อมกัน ตามวันเวลาที่กำหนด

 

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: [email protected]

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร

www.tesstraining.com

www.inwtraining.com

 


คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

หลักสูตรนี้เหมาะกับใคร ผู้ที่ต้องรับผิดชอบในการจัดซื้อหรือการขายสินค้าระหว่างประเทศ การส่งออกและการนำเข้าสินค้า

สถานที่อบรม (VENUE)

อบรมออนไลน์

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

30 พฤศจิกายน 2566 09.00-16.00

จัดโดย

ฝึกอบรม บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด
เบอร์ติดต่อ : TEL : 02-577-5369, 098-8209929

ค่าธรรมเนียม (FEE)

2500 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 316 ครั้ง