เทคนิคการปรับปรุงผลงานพนักงาน และกฎหมายแรงงานต้องรู้ สำหรับ HR และ Line Manager

27 เมษายน 2564

  • หัวข้อและกำหนดการเรียนรู้ :

  

 เวลา                      กิจกรรม

  ภาคเช้า      08.30-12.00 น.  (ดร.ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต)

  การปรับปรุงผลงานพนักงาน(Performance Improvement)

   08.30 - 12.00.     ลงทะเบียน

  • ทบทวนเรื่องการประเมินผลงาน และการบริหารผลงาน  

        +ทำไมเราจึงต้องประเมิน 

        + 2ส่วนประกอบสำคัญของการประเมินผล

        +Workshop & Sharing : แชร์ปัญหาการบริหารผลงาน

  • การปรับปรุงผลงาน(Performance Improvement) และการวางแผนปรับปรุงผลงาน (Performance Improvement Plan-PIP)  คืออะไร 
  • ประโยชน์ของการปรับปรุงผลงานและวางแผนปรับปรุงผลงาน 
  • Flowของการปรับปรุงผลงาน แบบ

        + Performance Improvement Workflow กลุ่ม Monitored

        + Performance Improvement Workflow กลุ่ม Critical

  •  แนวทางจัดการกรณีพนักงานผลงานต่ำกว่าเป้าหมาย

        +สาเหตุที่พนักงานผลงานต่ำกว่าเป้าหมาย

        +ฝึกปฏิบัติ วิเคราะห์สาเหตุที่พนักงานผลงานต่ำกว่าเป้าหมายด้วย 3A

        +การปรับปรุงผลงานด้วยการเพิ่มความรู้และทักษะ(Knowledge & Skills)

        +การปรับปรุงผลงานด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงาน(Behaviors)

  • ขั้นตอนของการปรับปรุงผลงานพนักงาน

         +ระบุปัญหาผลงานของพนักงาน

        +วางแผนปรับปรุงผลงานของพนักงานด้วย70: 20: 10

        +การประเมินและติดตามผลการพัฒนาบุคลากร และแนวทางดำเนินมาตรการปรับปรุงผลงานพนักงานที่ไม่ผ่านเงื่อนไข

            -      มาตรการทางการบริหาร

            -      มาตรการทางวินัยพนักงาน

  • เทคนิคสนับสนุนการปรับปรุงผลงานพนักงานที่ต้องรู้

         +การบริหารผลงานอย่างต่อเนื่อง(Continuous Performance Management)

        +การโค้ชอย่างง่ายเพื่อให้พนักงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงาน และแจกวีดีโอสื่อการเรียนรู้เรื่องเทคนิคการโค้ช

        + การสะท้อนผลงาน(Performance Feedback)  และแจกวีดีโอสื่อการเรียนรู้เรื่องการสะท้อนผลงาน  

  •  สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ภาคเช้า

 

 ภาคบ่าย   13.00-16.00 น.

  (อาจารย์ทนายฝ้าย และอาจารย์ทนายหนุ่ม)

กฎหมายแรงงานกับการจัดการPerformanceพนักงาน

  Pre-testทดสอบก่อนเรียนถึงความเข้าใจกฎหมายแรงงาน

  •   กฎหมายแรงงานที่เกี่ยวกับการบริหารPerformanceของพนักงานที่ต้องรู้ *+เลิกจ้างเพราะผลงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายได้หรือไม่

        +ตักเตือนเป็นหนังสือกับพนักงานกรณีPerformanceต่ำเป้าได้หรือไม่

        +การออกหนังสือเตือน ที่เข้าองค์ประกอบและชอบด้วยกฎหมายมีลักษณะอย่างไร

        +หากต้องเตือนต้องเตือนอย่างไรและเลิกจ้างได้อย่างเป็นธรรม

        +วิธีการจัดการด้านสัญญาในเรื่องPerformance

  • การแยกประเภทการจ้างและเขียนสัญญาเพื่อบริหารการจ้าง

        +การวิเคราะห์ลักษณะประเภทงานกับการแยกประเภทสัญญา

        +สัญญาจ้างทำของ

        +สัญญาจ้างที่ปรึกษา

        +สัญญาจ้างพนักงาน

        +บริหารการจ้างให้เกิดค่าชดเชยน้อยที่สุด

  • ฝึกปฏิบัติ

        + วิเคราะห์ตัวอย่างหนังสือเตือนที่ครบองค์ประกอบตามกฎหมาย

        + รวมวิเคราะห์ Case Study กรณีเลิกจ้างเนื่องจากผลการปฏิบัติงานหรือ Performance

  • Post –test ทดสอบหลังเรียนถึงความเข้าใจกฎหมายแรงงาน ถ
  • ถาม-ตอบเรื่องกฎหมายแรงงานกับการจัดการ Performance พนักงาน


แนวทางการเรียนรู้ : หลักสูตรนี้ ออกแบบโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ และจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ประกอบด้วย

● บรรยายแบบกระชับ (Mini-lecture)

● ถาม-ตอบ (Question & Answer)

● เรียนรู้จากกรณีศึกษาและตัวอย่างเพื่อนำไปปฏิบัติจริง

● อภิปรายและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน


สื่อการเรียนรู้ : นอกเหนือสไลด์ที่เป็นเอกสารประกอบการอบรมแล้ว วิทยากรจะมอบสื่อเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้หลังจากฝึกอบรมตามหลักสูตรไปแล้วให้โดยไม่คิดมูลค่าประกอบด้วย

● วีดีโอสื่อการเรียนรู้เรื่องเทคนิคการโค้ช

● วีดีโอสื่อการเรียนรู้เรื่องเทคนิคการโค้ชการสะท้อนผลงาน (Performance Feedback)


กลุ่มเป้าหมาย :

o เจ้าของกิจการและผู้บริหารระดับสูง

o HR ที่ดูแลงานด้าน Performance Management และงานพัฒนาบุคลากร o ผู้จัดการและหัวหน้างานตามสายงาน 

คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

o เจ้าของกิจการและผู้บริหารระดับสูง o HR ที่ดูแลงานด้าน Performance Management และงานพัฒนาบุคลากร o ผู้จัดการและหัวหน้างานตามสายงาน

วิทยากร

วิทยาการผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารผลงานและกฎหมายแรงงาน

สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สุขุมวิท 20

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

27 เมษายน 2564 09.00-16.00 น.

จัดโดย

บริษัท โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง แอนด์ คอนซัลแทนซี่ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 0896776047

ค่าธรรมเนียม (FEE)

4500 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 911 ครั้ง