เทคนิคการทำสมรรถนะ และ ตารางทักษะการทำงานอย่าง “ที่ปรึกษา”(Competency & Skills Matrix Hacking)

31 มีนาคม 2564



หัวข้อการเรียนรู้ (Course Outline)  : 

ครั้งที่ 1 :   วันพุธที่ 31 มีนาคม 2564    เวลา 09.00-16.00 น.

จาะลึกสมรรถนะ (Competency)                                                      
+ ความสำคัญและคุณค่าของ Competency 
+ ระบบมาตรฐาน ISO พูดถึง Competency ไว้อย่างไร ??
+ พื้นฐานของสมรรถนะ (Competency)
     - ความรู้ ทักษะและพฤติกรรมการทำงาน 
     - ความแตกต่างของความรู้ ทักษะและพฤติกรรมการทำงาน 
     - ส่วนประกอบของ Competency 
+ การปรับใช้สมรรถนะในการสรรหาและสัมภาษณ์ผู้สมัครงาน 
     - การใช้สมรรถนะเพื่อกำหนดคุณสมบัติของคนทำงานใน Job Description 
     - ฝึกปฏิบัติ : วิเคราะห์งานเพื่อกำหนด Competency  พร้อมคำแนะนำ
     - การใช้สมรรถนะในการสัมภาษณ์ผู้สมัครงาน พร้อมฝึกปฏิบัติและคำแนะนำ  
+ การปรับใช้สมรรถนะในงานพัฒนาบุคลากร 
      - การสำรวจความจำเป็นในการฝึกอบรมพัฒนา 
      - การจัดทำเส้นทางการพัฒนาพนักงาน (Development Roadmap)  
      - การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan-IDP)  
+ การปรับใช้สมรรถนะในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
      - องค์ประกอบที่เหมาะสมของการประเมินผลงาน KPI
+ Competency    
      - กรณีตัวอย่าง :  การใช้สมรรถนะเพื่อการประเมินผลงาน 
+ แนวทางการกำหนดระดับของสมรรถนะ (Competency Skills & Attributes Level)  
+ แนวทางการจัดทำตัวชี้วัดหลัก (Competency Skills & Attributes Key Actions)  
+ ฝึกปฏิบัติ : ออกแบบ
      - กรอบระดับสมรรถนะ (Competency Proficiency Level) ของสมรรถนะที่เป็นความรู้ ทักษะ (Knowledge/Skills)
      - กรอบระดับสมรรถนะ (Competency Proficiency Level) ของสมรรถนะที่เป็นพฤติกรรมการทำงาน (Attributes)
+ ปัญหาของปรับใช้สมรรถนะในการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล 

เจาะลึกตารางทักษะการทำงาน (Skills Matrix)
+ พื้นฐานของตารางทักษะ
      - ทบทวนความหมายและลักษณะของทักษะ
      - ตารางทักษะคืออะไร  
      - รูปแบบของทักษะสำหรับจัดทำตารางทักษะ (Skills Type)
      - ทักษะ 2 แบบของการจัดทำตารางทักษะ 
      - ทักษะผู้ปฏิบัติงานและทักษะเชิงการจัดทำ อีกสองแบบของทักษะที่ต้องทำ พร้อมทดสอบความเข้าใจ
      - ระดับทักษะ และตัวชี้วัดทักษะของ Skills Matrix 
      - แนวทางการประเมินทักษะตามระดับทักษะ พร้อมฝึกปฏิบัติ  
      - ขั้นตอนของการจัดทำตารางทักษะการทำงานในองค์กร 
  
+ ฝึกปฏิบัติ : ออกแบบกรอบพฤติกรรมหรือการปฏิบัติตามระดับของ Skills Matrix 
+ ปัญหาของการปรับใช้ตารางทักษะในการบริหารและพัฒนาบุคลากร 

ทดสอบความเข้าใจเนื้อหาจากที่ได้เรียนรู้วันที่ 1 
มอบหมายงานของวันที่ 1 (สำหรับใช้ในการเรียนรู้วันที่ 2) 
ชี้แจงข้อมูลและเอกสารที่ต้องเตรียมมาใช้สำหรับการเรียนรู้ครั้งต่อไป  


ครั้งที่ 2 :   วันพฤหัสบดีที่ 8 เมษายน  2564    เวลา 09.00-16.00 น.

การจัดทำตัวแบบสมรรถนะ (Competency Model)                                                      
+ ทบทวนส่วนประกอบของสมรรถนะ (Competency Components)  
+  ทบทวนแนวทางการกำหนดระดับของสมรรถนะ (Competency Skills & Attributes Level)  
+ ทดสอบความเข้าใจก่อนฝึกปฏิบัติ 
+ ฝึกปฏิบัติ (1) : ออกแบบ
      - กรอบระดับสมรรถนะ (Competency Proficiency Level) ของความรู้/ทักษะ (Knowledge/Skills)
      - กรอบระดับสมรรถนะ (Competency Proficiency Level) ของพฤติกรรมการทำงาน (Attributes)
      - Peer Feedback (แลกเปลี่ยน Feedback งานที่จัดทำระหว่างกัน)
      - Feedback ในชั้นเรียน และวิทยากรแนะนำ 
+ ฝึกปฏิบัติ (2) : ออกแบบ
      - ตัวชี้วัดของสมรรถนะที่เป็นความรู้/ทักษะ (Knowledge/Skills)
      - ตัวชี้วัดของสมรรถนะที่เป็นพฤติกรรมการทำงาน (Attributes)
      - Peer Feedback (แลกเปลี่ยน Feedback งานที่จัดทำระหว่างกัน)
      - Feedback ในชั้นเรียน และวิทยากรแนะนำ

การจัดทำทักษะในตารางทักษะการทำงาน (Skills Matrix)                                                       
+ ทบทวนส่วนประกอบของ Skills ในตารางทักษะการทำงาน (Skills Matrix)  
+  ทบทวนแนวทางการกำหนดระดับ 4 ระดับ (Skills Level) 
     - ทักษะที่ใช้กำลังกายเป็นหลักหรือทักษะเชิงเทคนิค (Hard Skills / Technical Skills) 
     - ทักษะที่ใช้ความคิดเป็นหลัก หรือทักษะการทำงานร่วมกับบุคคลอื่น (Soft Skills / People Skills) 
      - ทักษะเชิงปฏิบัติ (Operational Skills) 
      - ทักษะเชิงการจัดการ (Management Skills) 
+ ทดสอบความเข้าใจก่อนฝึกปฏิบัติ 
+ ฝึกปฏิบัติ (3) : ออกแบบ
     - ตัวชี้วัดทักษะที่ใช้กำลังกายเป็นหลักหรือทักษะเชิงเทคนิค (Hard Skills / Technical Skills) 
     - ตัวชี้วัดทักษะที่ใช้ความคิดเป็นหลัก หรือทักษะการทำงานร่วมกับบุคคลอื่น (Soft Skills / People Skills) 
- Peer Feedback (แลกเปลี่ยน Feedback งานที่จัดทำระหว่างกัน)
- Feedback ในชั้นเรียน และวิทยากรแนะนำ
+ ฝึกปฏิบัติ (4) : ออกแบบ
- ตัวชี้วัดทักษะเชิงปฏิบัติ (Operational Skills) 
- ตัวชี้วัดทักษะเชิงการจัดการ (Management Skills) 
- Peer Feedback (แลกเปลี่ยน Feedback งานที่จัดทำระหว่างกัน)
- Feedback ในชั้นเรียน และวิทยากรแนะนำ 

ทดสอบความเข้าใจเนื้อหาจากที่ได้เรียนรู้วันที่ 2 
มอบหมายงานของวันที่ 2 (สำหรับใช้ในการเรียนรู้วันที่ 3) 
ชี้แจงข้อมูลและเอกสารที่ต้องเตรียมมาใช้สำหรับการเรียนรู้ครั้งต่อไป  


ครั้งที่ 3 :   วันศุกร์ที่ 30 เมษายน  2564    เวลา 09.00-16.00 น.

การประเมินสมรรถนะ (Competency Assessment)                                                       
+ รูปแบบของการประเมินสมรรถนะ (Competency Assessment) พร้อมตัวอย่าง   
        +  เครื่องมือและแนวทางการประเมินสมรรถนะ พร้อมตัวอย่าง     
+ ฝึกปฏิบัติ (1) : ออกแบบ
- วิธีการประเมินสมรรถนะ เน้นการทดสอบและการสัมภาษณ์ 
- เกณฑ์การประเมินสมรรถนะ (Assessment Criteria) 
- Peer Feedback (แลกเปลี่ยน Feedback งานที่จัดทำระหว่างกัน)
- Feedback ในชั้นเรียน และวิทยากรแนะนำ 
+ การกำหนดข้อมูลการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี ส่วนสมรรถนะ (Competency)   

การประเมินทักษะ (Skills Assessment) ของตารางทักษะการทำงาน (Skills Matrix)                                                    
        +  เครื่องมือและแนวทางการประเมินสมรรถนะ พร้อมตัวอย่าง     
+ ฝึกปฏิบัติ (2) : ออกแบบ
- วิธีการประเมินทักษะ เน้นการทดสอบและการสัมภาษณ์ ตามที่ได้รับมอบหมาย 
- เกณฑ์การประเมินทักษะ (Skills Assessment Criteria) 
- Peer Feedback (แลกเปลี่ยน Feedback งานที่จัดทำระหว่างกัน)
- Feedback ในชั้นเรียน และวิทยากรแนะนำ

+ การเชื่อมโยงผลการประเมิน Skills Matrix ไปสู่การประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี  

ทดสอบความเข้าใจเนื้อหาจากที่ได้เรียนรู้วันที่ 3 และแจ้งผลคะแนนการทดสอบ  


วิธีการเรียนรู้  :  
      - บรรยายแบบกระชับ (Mini-lecture) พร้อมถาม-ตอบข้อสงสัย
          - เรียนรู้จากกรณีศึกษา พร้อมคาแนะนาในการนาไปปรับใช้
          - ฝึกปฏิบัติการเขียนเอกสารในระบบ ISO พร้อมคำแนะนำจากวิทยากร
          - อภิปรายและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผู้เข้ารับการเรียนรู้และวิทยากร

วิทยากร  :  อาจารย์ ดร.ชัชวาล  อรวงศ์ศุภทัต

วิทยากรและที่ปรึกษาด้านการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและบุคลากร ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดทำSkills MatrixและระบบCompetencyที่มีประสบการณ์ให้ กับองค์กรมในธุรกิจบริการ โรงงานอุตสาหกรรมและองค์กรรัฐ รัฐวิสาหกิจ

 


ค่าบริการอบรม  :   12,900.-บาท/ต่อท่าน   (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม  13,803.-บาท นิติบุคคลหักภาษี ณ ที่จ่าย 3% ชำระยอด 13,416.-บาท)

Special Promotion.!!! มา 2 ท่านขึ้นไป++ รับส่วนลดทันที 900.-บาท/ต่อท่าน ชำระเพียง 12,000.-บาท!!!

วิธีการชำระเงิน :
1.) โอนเงินเข้าบัญชี ธนาคารทหารไทย สาขาพหลโยธิน / บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 001-9-29392-7 ชื่อบัญชี บริษัท โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง แอนด์ คอนซัลแทนซี่ จำกัด
2.) ชำระเป็นเงินสดหรือเช็คสั่งจ่ายในนาม "บริษัท โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง แอนด์ คอนซัลแทนซี่ จำกัด"
**นิติบุคคลชำระยอดหลังหักภาษี ณ ที่จ่าย พร้อมหนังสือรับรองหักภาษี ณ ที่จ่าย**

หมายเหตุ :
- ค่าบริการอบรม รวม เอกสารประกอบการฝึกอบรม Certificate of Learning สถานที่ อาหารว่าง 2 มื้อ และอาหารกลางวัน
- บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงโรงแรมจัดอบรมกรณีผู้เข้าอบรมน้อยกว่า 10 ท่าน


สำรองที่นั่งเข้าร่วมอบรม โดยกรอกแบบฟอร์มตอบรับและส่งกลับมาที่ อีเมลล์[email protected]
(ท่านจะได้รับใบ Invoice หลังจากส่งแบบตอบรับมาภายใน 1-2 วัน)
หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ :
=> คุณสุธาสินี : โทรศัพท์ 092-431-6631, 089-677-6047
หรือที่อีเมล์[email protected]   ไลน์ไอดี : ptccontact
ดูรายละเอียดหลักสูตรเพิ่มเติมได้ที่http://www.ptc.in.th


คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

เจ้าของธุรกิจขนาด SME ผู้จัดการและหัวหน้างานฝ่าย HR ผู้จัดการและหัวหน้างานทุกสายงาน Internal Consultant (ที่ปรึกษาภายในองค์กร)

วิทยากร

อาจารย์ ดร.ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต

วิทยากรและที่ปรึกษาด้านการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและบุคลากร ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดทำ Skills Matrix และระบบ Competency ที่มีประสบการณ์ให้ กับองค์กรมในธุรกิจบริการ โรงงานอุตสาหกรรม และองค์กรรัฐ รัฐวิสาหกิจ



สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สุขุมวิท 20

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

31 มีนาคม 2564 09.00-16.00 น.

จัดโดย

บริษัท โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง แอนด์ คอนซัลแทนซี่ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 0896776047

ค่าธรรมเนียม (FEE)

12900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 514 ครั้ง