หลักการและเหตุผล
· กฎหมายใหม่ที่จะส่งผลกระทบกับองค์กรและคนทำงาน HRอย่างเป็นนัยสำคัญ เมื่องานHRจะถูกกำหนดให้เป็นวิชาชีพตามกฎหมาย
· คนทำงานHRต้องมีคุณวุฒิและผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กฎหมายกำหนด จึงจะสามารถทำงานHRได้
· พิเศษ!เพิ่มเติม เจาะประเด็น พรบ. สมรสเท่าเทียม และ พรบ. ปรับเป็นพินัย มีผลกระทบกับองค์กรและงานHR อย่างไร
หัวข้อสัมมนา
· วิเคราะห์และสรุปสาระสำคัญร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพ HR
o เหตุผลและความเป็นต้องมี พรบ. วิชาชีพHR
o สภาวิชาชีพ HRคือใคร มีบทบาทหน้าที่และวัตถุประสงค์ อย่างไร
o คณะกรรมการสภาวิชาชีพ HRเป็นใครได้บ้าง มาจากไหน มีคุณสมบัติอย่างไร
o มาตรฐานวิชาชีพ HRหมายถึงอะไร
o ผู้ประกอบวิชาชีพ HRหมายถึงใครบ้าง
o สมาชิกสภาวิชาชีพ HRมีกี่ประเภท มีบทบาทหน้าที่ และคุณสมบัติอย่างไร
o การกำกับดูแลการประกอบวิชาชีพ HRตามกฎหมาย
o บทกำหนดโทษ
· คณะกรรมการจรรยาบรรณตาม(ร่าง)พระราชบัญญัติวิชาชีพ HR
o คณะกรรมการ คือใคร
o มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการด้านจรรยาบรรณกับผู้ประกอบวิชาชีพ HRอย่างไร
· กรณีศึกษาและตัวอย่างจรรยาบรรณวิชาชีพ HR
· คนทำงานHRต้องขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล
จึงจะทำงานด้านHRได้ใช่หรือไม่
· จะประกอบวิชาชีพHRต้องเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพหรือไม่ และต้องเสียค่าสมาชิกหรือไม่
· จะขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพHRต้องทำอย่างไร มีหลักเกณฑ์อย่างไร
· กรณีศึกษา เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพHR มีกี่ระดับ มีลักษณะอย่างไร
· "ผู้ประกอบวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล" กับ"ผู้ประกอบวิชาชีพรับอนุญาต" มีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบแตกต่างกันอย่างไร
· บุคคลที่ประกอบอาชีพHRไม่มีใบอนุญาตจากสภาวิชาชีพฯ ยังคงสามารถทำงานด้านHRได้หรือไม่
· พนักงานHRที่ทำงานอยู่ในปัจจุบันหรือก่อนวันที่กฎหมายบังคับใช้ จะมีผลกระทบอะไร และต้องเตรียมตัวอย่างไร
· กรณีศึกษา กระบวนการขอรับรองมาตรฐานวิชาชีพHR
· กรณีศึกษา การฝึกอบรมและการทดสอบวัดผล เพื่อขอรับรองมาตรฐานวิชาชีพHR
· สถานภาพของ ร่าง พรบ. วิชาชีพHRขณะนี้อยู่ในขั้นตอนไหน จะบังคับใช้เมื่อใด
· วิเคราะห์และสรุปสาระสำคัญ พรบ.สมรสเท่าเทียม
o ผลกระทบและสิ่งที่HRต้องเตรียมความพร้อม
· วิเคราะห์และสรุปสาระสำคัญ พรบ. ปรับเป็นพินัย
o ผลกระทบและสิ่งที่HRต้องเตรียมความพร้อม
ถาม-ตอบปัญหาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอาจารย์พงศา
บุญชัยวัฒนโชติ