หลักการและเหตุผล
จากกฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคล เพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ พ.ศ.2565 ตามข้อ 43 หนึ่งในนั้น คือ องค์กรต้องจดให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน
ดังนั้นหัวหน้างานทุกท่านจึงต้องได้รับการอบรม หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน
เพื่อให้ทราบบทบำทหน้าที่ ความรับผิดชอบตามกฎหมายกำหนด และเพื่อให้ทราบแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายในการ
อบรมจะมีการบรรยายให้ทราบรายละเอียดหัวข้อตามรายละเอียดด้านล่างนี้
1. ควำมรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความ
ปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้า
2. กฎหมายความปลอดภัยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
3. การค้นหาอันตรายจากการทำงานและการจัดทำคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
4. การป้องกันและควบคุมอันตรายจากการทำงาน
ดังนั้นทางองค์กรจึงจำเป็นต้องส่งหัวหน้างานเข้ารับการอบรมให้ครบถ้วนทุกท่านตามกฎหมำยนี้ และเพื่อให้เป็นไป
ตามเจตนารมย์ของกฎหมาย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้หัวหน้างานเข้าใจบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบตามกฎหมาย
2. เพื่อให้หัวหน้างานมีความรู้ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
3. เพื่อให้หัวหน้างานเข้าใจกฎหมายความปลอดภัยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
4. เพื่อให้หัวหน้างานเข้าใจการค้นหาอันตรายจากการทำงานและการจัดทำคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย
5. เพื่อให้หัวหน้างานเข้าใจการป้องกันและควบคุมอันตรายจากการทำงาน
ของบริษัท บลูพลัสเทรนนิ่ง จำกัด จะมีวิทยากรที่มีประสิทธิภาพและขึ้นทะเบียนกับกองความปลอดภัยแล้วเท่านั้น
หัวข้อการฝึกอบรม
วันที่ 1
หมวด 1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ งาน และบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
ระดับหัวหน้ำ
(ก) ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทำ งาน
(ข) บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน หมวด 2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
(ก) การบริหารกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทำงานของกระทรวงแรงงาน
(ข) สาระสำคัญของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงาน และการนำกฏหมายสู่การปฏิบัติ
วันที่ 2
หมวด 3 การค้นหาอันตรายจากการทำงาน และการจัดทำ คู่มือว่าด้วยความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
(ก) การตรวจความปลอดภัย
(ข) การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
(ค) การสอบสวน การวิเคราะห์ และการรายงานอุบัติเหตุ
(ง) การจัดทำ คู่มือว่าด้วยความปลอดภัยอาชีวอนำมัย และสภาพแวดล้อมใน
การทำงาน
หมวด 4 การป้องกันและควบคุมอันตรายจากการทำงาน
(ก) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากเครื่องจักร
(ข) กำรป้องกันและควบคุมอันตรายจากไฟฟ้า
(ค) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บวัสดุ
(ง) การป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการ
(จ) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
(ฉ) การป้องกันควบคุมอันตรายจากสารเคมี
(ช) การป้องกันควบคุมปัญหาด้านการยศาสตร์
(ซ) การป้องกันควบคุมอันตรายในงานก่อสร้าง
(ฌ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ทำแบบทดสอบหลังอบรม
ทุกหลักสูตร ได้รับใบ certificate อย่างแน่นอน