เจาะลึกแนวปฏิบิตในการเตรียมความพร้อมกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 (Implementing PDPA)

19 พฤษภาคม 2564

หัวข้อการเรียนรู้ :

• สรุปภาพรวมของกฎหมาย PDPA

- ข้อมูลส่วนบุคคล คืออะไร

- ตัวอย่างข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย

- ความจำเป็นของการใช้กฎหมาย

- บทบาทหน้าที่ของบุคคลสามฝ่ายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

- บุคคลสามฝ่าย และสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (พนักงาน / ลูกค้า / คู่ค้า)

- บทลงโทษผู้ละเมิด และการฟ้องร้องผู้ใช้ข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาต

- Workshop : สำรวจตรวจสอบสิ่งที่องค์กรดำเนินการเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย PDPA

- 8 ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อต้องวางระบบให้สอดคล้องกับกฎหมาย PDPA

- ฝึกปฏิบัติ : การวิเคราะห์งานและกำหนด Data Flow ของหน่วยงาน ทำ Workshop แยกกลุ่ม

• Workshop (กลุ่มที่ 1) : กำหนดแนวปฏิบัติ (Practices)เกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของ "พนักงาน"

o การรับสมัครงาน และการขอหลักฐานเกี่ยวกับการสมัครงาน

o การขอความยินยอมจากพนักงานใหม่ – พนักงานเก่า

o การปรับแก้สัญญาจ้าง และตัวอย่างเอกสารที่เกี่ยวข้องการการจ้างงาน

o การขอดูหลักฐานการลาป่วยของพนักงาน

o ลูกจ้างเปิดเผยเงินเดือนกัน

o การจัดการกับพนักงานที่ถูกให้ออกหรือไล่ออกเพื่อไม่ให้เปิดเผยข้อมูล เป็นต้น

o พร้อมวิเคราะห์ฐานประมวลผลข้อมูล นำเสนองาน และคำแนะนำจากวิทยากร

• Workshop (กลุ่มที่ 2) : กำหนดแนวปฏิบัติ (Practices) เกี่ยวกับ การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของ "ลูกค้า" ในเรื่อง.....

o การขอเอกสารเพื่อลงทะเบียนลูกค้า และการขอเอกสารกรณีต่าง ๆ

o การจัดเก็บข้อมูลของลูกค้าและการเปิดโอกาสให้ลูกค้าเข้าถึงข้อมูล o การขอความยินยอมจากลูกค้าในกรณีต่าง ๆ

o การปรับแก้สัญญาในการดำเนินงานกับลูกค้าตามกรณีตัวอย่าง

o พร้อมวิเคราะห์ฐานประมวลผลข้อมูล นำเสนองาน และคำแนะนำจากวิทยากร


Workshop (กลุ่มที่ 3) : กำหนดแนวปฏิบัติ (Practices) เกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของ "คู่ค้า" ในเรื่อง.....

o การขอเอกสารเพื่อลงทะเบียนคู่ค้า และการขอเอกสารกรณีต่าง ๆ

o การจัดเก็บข้อมูลของคู่ค้า และการเปิดโอกาสให้คู่ค้าเข้าถึงข้อมูล o การขอความยินยอมจากคู่ค้าในกรณีต่าง ๆ

o การปรับแก้สัญญาในการดำเนินงานกับคู่ค้าตามกรณีตัวอย่าง

o พร้อมวิเคราะห์ฐานประมวลผลข้อมูล นำเสนองาน และคำแนะนำจากวิทยากร

• ข้อแนะนำเพิ่มเติมจากทีมวิทยากร เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ และการติดตามผลหลังจากอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ แนวทางการเรียนรู้ :

o บรรยายอย่างย่อ

o ถาม-ตอบประเด็นสงสัย

o ทดสอบความเข้าใจ

o กรณีศึกษาและตัวอย่าง พร้อมคำแนะนำจากวิทยากร

o ฝึกปฏิบัติตามงานที่กำหนด พร้อมคำแนะนำจากวิทยากร

o อภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Group Discussion & Group Exercise)


ข้อเสนอพิเศษ :

แบบฟอร์มที่สามารถนำไปปรับใช้สำหรับการใช้ปฏิบัติงานในองค์กร โดยไม่คิดมูลค่าเพิ่มเติม และให้บริการอื่น ประกอบด้วย

o แบบฟอร์มให้ความยินยอม

o ร่างนโยบายความเป็นส่วนตัว / ประกาศความเป็นส่วนตัว

o ระเบียบปฏิบัติ และ Procedure เกี่ยวกับ PDPA

o แบบฟอร์มหนังสือขอความยินยอมผู้สมัครงาน

o บันทึกข้อตกลงรักษาความลับ

o แบบฟอร์มตัวอย่างสัญญาจ้างงาน เป็นต้น

o การให้คำปรึกษาทางไลน์กลุ่ม หลังจากฝึกอบรมเสร็จสิ้น


กลุ่มเป้าหมาย :

o เจ้าของกิจการ

o บุคลากรระดับบังคับบัญชา

o บุคลากรระดับปฏิบัติการจากทุกสายงาน


วิทยากร :

อาจารย์ ทนายความ ยิ่งพร อินทร์ศรีชื่น

ผู้เชี่ยวชาญด้านบริหารสัญญา และกฎหมายแรงงาน ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) เจ้าของเพจ คลินิกกฎหมายแรงงาน ที่นำเสนอเรื่องกฎหมายแรงงานและกฎหมาย PDPA

ดร.ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต

Certified OKR Professional ที่ปรึกษาพัฒนามาตรฐานแรงงาน (มรท.8001: 2563) ที่ปรึกษาด้านการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาบุคลากร เจ้าของเพจ รอบรู้กฎหมายแรงงานและ PDPA


คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

o เจ้าของกิจการ o บุคลากรระดับบังคับบัญชา o บุคลากรระดับปฏิบัติการจากทุกสายงาน

วิทยากร

อาจารย์ ทนายความ ยิ่งพร อินทร์ศรีชื่น

ผู้เชี่ยวชาญด้านบริหารสัญญา และกฎหมายแรงงาน ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) เจ้าของเพจ คลินิกกฎหมายแรงงาน ที่นำเสนอเรื่องกฎหมายแรงงานและกฎหมาย PDPA

ดร.ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต

Certified OKR Professional ที่ปรึกษาพัฒนามาตรฐานแรงงาน (มรท.8001: 2563) ที่ปรึกษาด้านการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาบุคลากร เจ้าของเพจ รอบรู้กฎหมายแรงงานและ PDPA



สถานที่อบรม (VENUE)

Online by Zoom

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

19 พฤษภาคม 2564 09.00-16.00 น.

จัดโดย

บริษัท โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง แอนด์ คอนซัลแทนซี่ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 0896776047

ค่าธรรมเนียม (FEE)

2900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 535 ครั้ง