หลักสูตรการจัดตั้งนิติบุคคลบ้านจัดสรร/อาคารชุด

14 - 15 ธันวาคม 2561



https://i2.wp.com/trebssite.files.wordpress.com/2018/08/3008-08.jpg?ssl=1&w=1200

 

เวลา - สถานที่วันศุกร์ที่14 -เสาร์ที่15ธันวาคม2561 
08:30-17:00
น. ณ โรงเรียนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไทย

รายละเอียด

 พ.ร.บ. จัดสรรคที่ดินฉบับใหม่ และการโอนสาธารณูปโภค "เรียนรู้พรบ.จัดสรรที่ดินฉบับเปลี่ยนแปลงแก้ไขล่าสุดที่นักพัฒนาที่ดินต้องรู้"

​หัวข้อการอบรม:

  • การกำหนดอัตราเงินกองกลางกับข้อกำหนดกฎหมาย
  • การคำนวณจำนวนเงินกองทุน
  • นักพัฒนาที่ดินกับสถานะในการทำสัญญาเก็บเงินกองทุนนิติบุคคล
  • การออกเอกสารรับเงินและการเก็บรักษาเงินกองกลาง
  • การบริหารกองทุน
  • กองทุนมีกี่ประเภท
  • การกำหนดอัตราส่วนกลาง / อัตราส่วนกรรมสิทธิ์
  • การตั้งกองทุนนิติบุคคล / การจัดตั้งกองทุนหมู่บ้านจัดสรร
  • การจัดทำงบประมาณในการบริหาร
  • การกำหนดอัตราส่วนกลาง การกำกับและเก็บค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
  • ข้อกฎหมายกับการโอนทรัพย์สินเป็นส่วนกลาง
  • ทรัพย์สินใดบ้างที่ควรโอนเป็นทรัพย์ส่วนกลาง ประโยชน์ของการโอนทรัพย์เป็นส่วนกลาง
  • การดูแลรักษาสภาพทรัพย์ก่อนการโอน
  • สาธารณูปโภค-การบริหารสาธารณะกับการโอนทรัพย์เป็นส่วนกลาง
  • ระเบียบข้อกฎหมายด้านงานบริหารงานนิติบุคคล ที่นักพัฒนาที่ดินควรรู้
  • พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภคว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค มาตรฐานต่าง ๆ
  • การบริหารจัดการ
  • บ้านกับการค้ำประกันโครงสร้าง และการค้ำประกันส่วนประกอบ
  • การบริหารงานนิติบุคคลกับการบริหารหลังการขาย
  • ระบบสาธารณูปโภค
  • นิติกรรมสัญญาที่เกี่ยวข้อง ข้อปฏิบัติในการพักอาศัย สิทธิและหน้าที่ของสมาชิก 
  • บทกำหนดโทษการต่อเติม ตกแต่ง การใช้ประโยชน์ต่าง ๆ
  • ปัญหาและอุปสรรค กรณีศึกษาการจัดตั้งนิติบุคคลและแนวทางแก้ไข

ค่าลงทะเบียน 12,000  (ไม่รวม Vat)

ลงทะเบียน: https://www.trebs.ac.th/th/detail.php?id=20

ติดต่อTel : 02- 2953905    Line : trebs1


คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

เจ้าของโครงการบ้านจัดสรร

วิทยากร

อ. ธีรวัฒน์ จันทรสมบูรณ์

อ. วิวัธน์ ศรีเจริญวงศ์

อ. สุชาติ ดอกไม้เพ็ง



สถานที่อบรม (VENUE)

โรงเรียนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไทย

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

14 - 15 ธันวาคม 2561 08.30-17.00

จัดโดย

โรงเรียนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไทย
เบอร์ติดต่อ : 02-2953905

ค่าธรรมเนียม (FEE)

12000 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 2249 ครั้ง