หลักสูตร การจัดทำระบบควบคุมสารปนเปื้อน (ROHS)ในผลิตภัณฑ์สำหรับการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ – ชิ้นส่วนไฟฟ้า

20 กุมภาพันธ์ 2563


หลักสูตร การจัดทำระบบควบคุมสารปนเปื้อน (ROHS)ในผลิตภัณฑ์สำหรับการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ - ชิ้นส่วนไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ (20ก.พ.63)

หลักการและเหตุผล

ข้อกำหนดข้อกฎหมายการควบคุมสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์และสิ่งแวดล้อม SOC / RoHs 1.0 / RoHs 2.0 / REACH Annex VI / XV / XIV / AVII / SVHC / DMF / VOC / MDA /  SCCPs / POPs / Prop65 / Lead in Solder / CMR / WEEEและในภาคอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์นั้น ตั้งแต่ระดับผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์Original Equipment Manufacturer (OEM) / Replacement Equipment Manufacturer (REM)ซึ่งเป็นผู้กำหนดและควบคุมวัตถุดิบที่จะนำมาใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องและเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมายรวมถึงผู้รับจ้างช่วงผลิตลำดับทีหนึ่ง (Tier 1)ผู้รับจ้างช่วงผลิตที่เป็นต้นน้ำ (Tier..n)ที่เป็นผู้ควบคุมการใช้วัตถุดิบที่นำมาใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามข้อกำหนดของลูกค้าและข้อกฎหมาย ซึ่งต้องดำเนินการควบคุมและจัดทำรายงานอย่างถูกต้องตามมาตรฐานสากล

 

 

วัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม

  1. เพื่อให้เข้าใจเป้าหมายการควบคุมสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดข้อกฎหมาย

ในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์

  1. เพื่อให้เข้าใจขั้นตอนและวิธีการดำเนินการควบคุมสารต้องห้ามหรือสารเคมีอันตรายในผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์ในผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องและเป็นไปตามข้อกำหนดของอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์
  2. เพื่อให้สามารถกรอกข้อมูลและจัดทำรายงานการควบคุมสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้องตามหลักข้อกฎหมายและมาตรฐานสากล
  3. เพื่อให้เข้าใจหลักการและการดำเนินการด้านการจัดการควบคุมสารต้องห้ามหรือสารเคมีอันตรายในผลิตภัณฑ์ในองค์กรให้สอดคล้องกับข้อกำหนดข้อกฎหมายของอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์

รายละเอียดเนื้อหา

  • หลักการและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องในการควบคุมสารปนเปื้อน

ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์

-.ข้อกำหนดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Life Cycle Assessment : LCA)

-.ข้อกำหนดCarbon Footprint for Product : CFP

-.ข้อกำหนดCarbon Footprint for Organization : CFO

-.ข้อกำหนดการจัดการควบคุมข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับISO 50001

  • หลักการและข้อกำหนดในการควบคุมสารปนเปื้อน

ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์

-. RoHs 1.0 / 2.0

-. REACH ( Annex VI / XV / XIV / XVII / SVHC )

  • ข้อกำหนดสารกันความชื้นซิลิกาเจลหรือDMF

·ข้อกำหนดCE Mark

  • ขั้นตอนการจัดทำOrganization SOCเพื่อยื่นขออนุมัติ
  • การดำเนินการวางระบบQMSการควบคุมสารปนเปื้อนในองค์กร
  • การดำเนินการควบคุมSOCกับผู้รับจ้างช่วงผลิต (Suppliers)
  • การจัดทำFlow chartการจัดการความผิดปกติ เกี่ยวกับเรื่องSOC
  • การทบทวนระเบียบปฏิบัติการเรื่องการควบคุมการเปลี่ยนแปลงด้านSOCระหว่างลูกค้า และSuppliers
  • การควบคุมผู้ส่งมอบ วิธีการดำเนินการ กรณีที่ผู้ขายไม่ให้เข้าไปตรวจประเมิน
  • การดำเนินการAudit Suppliersด้านSOC
  • การจัดทำรายงานการควบคุมสารปนเปื้อนตามมาตรฐานสากลเพื่อยื่นอนุมัติ

·ข้อกำหนดWEEE

  • ข้อกำหนดSoldering ในชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์
  • การกำหนดMaterial ClassificationในIMDS
  • ข้อกำหนดPolymerics Part Making / Material Labeling

-. Plastic / Polymer / Duromers / Rubber / Elastomers (Mat'l Class)

  • ข้อกำหนดข้อกฎหมายแร่ความขัดแย้ง (Conflict Mineral : CMR )

·ข้อกำหนดใหม่POPs / Prop65

อาจารย์พิทักษ์ บุญชม

ราคาสุดพิเศษอย่างยิ่ง

ราคาท่านละ3,900บาท

ลงทะเบียน 3 ท่าน ท่านละ 3,200 บาท

ลงทะเบียน 4 ท่าน ขึ้นไปท่านละ 2,900 บาท

ราคาดังกล่าว ฟรี

1) เอกสารประกอบการสัมมนา (เข้าเล่ม)

2) ใบประกาศผ่านการอบรม

3) อาหารเบรก 2 มื้อ อาหารกลางวันบุฟเฟ่ต์โรงแรม รับกระเป๋าผ้าสมุดปากกา หน้างาน

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: [email protected]

Line id : 0988209929

Facebook : tesstrainingpage


คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

หัวหน้างาน พนักงานที่เกี่ยวข้องที่สนใจอบรม

สถานที่อบรม (VENUE)

โรงเเรมเเกรน์สุขุมวิท ซอย 6 ติด BTS นานา

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

20 กุมภาพันธ์ 2563 09:00 - 16:00

จัดโดย

บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 098-8209929

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 481 ครั้ง