หลักสูตร visa work permit ขั้นตอนการขอใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) อบรม 20 ม.ค.66

20 มกราคม 2566


หลักสูตรvisa work permitขั้นตอนการขอใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) 


หลักการและเหตุผล

จะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนในการขอใบอนุญาตทำงาน (Work permit)พร้อมจัดเตรียมเอกสารหลักฐานให้ถูกต้องครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2551รวมถึงจะต้องดำเนินการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรต่อคณะกรรมการพิจารณาคนเข้าเมือง ซึ่งสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (สตม.) ยึดเป็นหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติ ดังนั้น ผู้ประกอบการที่มีการนำเข้าชาวต่างชาติมาปฏิบัติงานในประเทศไทย จึงควรทราบข้อกำหนดและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการขออนุญาตทำงานสำหรับชาวต่างชาติที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันมากที่สุด เพื่อช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถหลีกเลี่ยงและป้องกันการเกิดปัญหากรณีชาวต่างชาติไม่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำงานหรือทำงานต่อในประเทศไทย ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของผู้ประกอบการได้

 

เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)

ความหมาย ของ VISA และWORK PERMIT

ประเภทของ VISA

ใครบ้าง ต้องทำ VISA และWORK PERMIT

ในกรณีที่ ชาวต่างชาติ นำบุคคลในครอบครัวมาพำนักในประเทศ จะต้องทำอย่างไรบ้าง

ขั้นตอน และ วิธีการ ในการจัดทำVISAแต่ละประเภท

ขั้นตอน และ วิธีการ ในการจัดทำ WORK PERMIT

การยื่นขอรับการตรวจลงตรา (วีซ่า) เพื่อเข้ามาในราชอาณาจักร และประเภทของวีซ่า

การยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักร

การยื่นคำร้องขอสงวนสิทธิการเดินทางกลับเข้ามาในราชอาณาจักร

การยื่นคำร้องขอมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร

การจัดเตรียมเอกสาร ในการจัดทำ VISA และWORK PERMITการตั้งเป้าด้วยOKRs (Objectives and Key Results)วัตถุประสงค์และผลลัพธ์สำคัญ

สรุปตอบคำถาม

รูปแบบการเรียนรู้

·         การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult Learning )ทำให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ได้ทันที

·         การบรรยายแบบมีส่วนร่วมสื่อสาร2ทาง,Workshopถาม-ตอบ

 

 

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: [email protected]

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร

หลักสูตรสามารถเลือกจัดรูปเเบบ IN HOUSE ในองค์กรเเจ้งได้ค่ะ

http://www.tesstraining.com



หลักการและเหตุผล

จะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนในการขอใบอนุญาตทำงาน (Work permit)พร้อมจัดเตรียมเอกสารหลักฐานให้ถูกต้องครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2551รวมถึงจะต้องดำเนินการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรต่อคณะกรรมการพิจารณาคนเข้าเมือง ซึ่งสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (สตม.) ยึดเป็นหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติ ดังนั้น ผู้ประกอบการที่มีการนำเข้าชาวต่างชาติมาปฏิบัติงานในประเทศไทย จึงควรทราบข้อกำหนดและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการขออนุญาตทำงานสำหรับชาวต่างชาติที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันมากที่สุด เพื่อช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถหลีกเลี่ยงและป้องกันการเกิดปัญหากรณีชาวต่างชาติไม่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำงานหรือทำงานต่อในประเทศไทย ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของผู้ประกอบการได้

 

เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)

ความหมาย ของ VISA และWORK PERMIT

ประเภทของ VISA

ใครบ้าง ต้องทำ VISA และWORK PERMIT

ในกรณีที่ ชาวต่างชาติ นำบุคคลในครอบครัวมาพำนักในประเทศ จะต้องทำอย่างไรบ้าง

ขั้นตอน และ วิธีการ ในการจัดทำVISAแต่ละประเภท

ขั้นตอน และ วิธีการ ในการจัดทำ WORK PERMIT

การยื่นขอรับการตรวจลงตรา (วีซ่า) เพื่อเข้ามาในราชอาณาจักร และประเภทของวีซ่า

การยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักร

การยื่นคำร้องขอสงวนสิทธิการเดินทางกลับเข้ามาในราชอาณาจักร

การยื่นคำร้องขอมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร

การจัดเตรียมเอกสาร ในการจัดทำ VISA และWORK PERMITการตั้งเป้าด้วยOKRs (Objectives and Key Results)วัตถุประสงค์และผลลัพธ์สำคัญ

สรุปตอบคำถาม

รูปแบบการเรียนรู้

·         การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult Learning )ทำให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ได้ทันที

·         การบรรยายแบบมีส่วนร่วมสื่อสาร2ทาง,Workshopถาม-ตอบ

 

 

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: [email protected]

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร

หลักสูตรสามารถเลือกจัดรูปเเบบ IN HOUSE ในองค์กรเเจ้งได้ค่ะ

http://www.tesstraining.com


คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

หัวหน้างาน พนักงาน ผู้ที่สนใจอบรม

สถานที่อบรม (VENUE)

อบรมออนไลน์

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

20 มกราคม 2566 13.00-16.30

จัดโดย

ฝึกอบรม บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด
เบอร์ติดต่อ : TEL : 02-577-5369, 098-8209929

ค่าธรรมเนียม (FEE)

1900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 317 ครั้ง