วัตถุประสงค์ (Objective)
1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจในสภาวะที่ต้องเผชิญกับปัญหา และนำปัญหาไปผ่านกระบวนการคิดในเชิงบวก เพื่อจัดการกับปัญหาและลดความขัดแย้งอย่างเป็นระบบ
2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อื่นในการทำงานร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการทำงา
3. เพื่อนำเครื่องมือต่างๆไปประยุกต์ใช้ในการจัดการลดความขัดแย้ง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม (Target Participants)
· บุคลากรทุกระดับที่ต้องทำงานร่วมกันในองค์กร
เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)
Module 1:การแก้ปัญหาการตัดสินใจ
o ปัญหาคืออะไร
o ประเภทของปัญหา
o ใครมีหน้าที่ในการแก้ไขปัญหา?
o การเก็บรวบรวมข้อมูลสภาพปัจจุบันของงาน
o การให้ความสำคัญกับหน้างาน 3 Gen (GENBA,GENBUTSU,GENJISU)
o ประเภทเครื่องมือ เช่น 5W1H, Why-Why analysis, Work flow analysis,7 QC tools
o Workshopการวิเคราะห์ปัญหา และการตัดสินใจ
Module 2: การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน
o ความหมายของความขัดแย้ง
o ความหมายธรรมชาติเรื่องจริงของมนุษย์ที่ควรทราบ
o รูปแบบของพฤติกรรมความขัดแย้ง(Conflict reaction styles)
o บทบาทของผู้นำต่อปัญหาความขัดแย้ง
o เทคนิคการบริหารความขัดแย้ง
o การใช้กระบวนการแทรกแซง (Intervention)เพื่อลดความขัดแย้ง
o Workshopกลยุทธ์วิธีแก้ไขความขัดแย้ง(งานกลุ่ม พร้อมอภิปราย)
รูปแบบการเรียนรู้
· การบรรยาย การสาธิต กิจกรรมการเรียนรู้ และ การอภิปรายกลุ่ม
อ.พลกฤต โสลาพากุล