หลักการและเหตุผล (Introduction)
ความสำคัญของการทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix)เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้สำหรับการบริหารคนให้เหมาะสมกับขนาดขององค์กร เพราะในยุค4.0 การทำงานของคนในองค์กรนั้นจะเน้นการทำงานที่คุณภาพมากขึ้น ฉะนั้นผู้นำหรือผู้บริหารจำเป็นจะต้องรู้ว่าบุคลกรที่มีอยู่นั้นจะต้องได้รับการประเมินทักษะ เพื่อสามารถทำงานทดแทนผู้อื่นได้ ในการทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) ที่ดีนั้นจะต้องมีการกำหนดตัวชี้วัดไว้อย่างชัดเจน โดยเริ่มตั้งแต่ทบทวนหน้าที่หลักของหน่วยงาน (Function Matrix)งานหลักที่ต้องทำ (Key Responsibility)รายละเอียดงานที่ต้องทำ (Key Task)การวิเคราะห์Job CompetencyการคัดเลือกSkillและตลอดการรวมถึงSkillเพื่อนำไปทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix)
วัตถุประสงค์ (Objective)
1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจในการทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix)
2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมนำเทคนิคจากวิทยากรไปจัดทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix)และประยุกต์ใช้งานในองค์กรอย่างเหมาะสมและเพิ่มประสิทธิภาพในการสร้างคนสร้างงาน และสร้างความยั่งยืน
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม (Target Participants) หัวหน้างาน ผู้จัดการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องในการบริหารคน
เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)
1. MindsetกับSkillset แตกต่างกันอย่างไร
2. SKAในการทำงานกับBehavior
3. Skills Matrixของหน่วยงาน จากJob Descriptionให้สอดคล้องกับระบบISO
4. บทบาทหน้าที่ของผู้ที่ทำSkills Matrix
5. ตารางทักษะการทำงานของskill Matrix
6. ตารางSkill Matrixมีประโยชน์อย่างไร
7. เทคนิคการทำตารางทักษะของพนักงาน
8. เทคนิคการกำหนดตัวชี้วัดทักษะของ Skill Matrix
9. ขั้นตอนการทำOn the Job Training Matrix
10. สรุปการเรียนรู้
ระยะเวลาการฝึกอบรม (Time) หลักสูตรONLINE 3 ชั่วโมง เวลา13.00 - 16.00 น.
รูปแบบการอบรม (Methodology)
1. Zoom Online Meetingบรรยาย พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา สนทนาและตอบข้อซักถาม
2. เอกสารประกอบการบรรยายจะจัดส่งเป็นไฟล์ PDFให้ก่อนวันอบรม2-3 วัน
อาจารย์พลกฤต โสลาพากุล
กำหนดการ วันจันทร์ที่22 พฤศจิกายน2564
สถานที่ Zoom Online Meeting
ราคา 1,500 บาท
• ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
• นิติบุคคล สามารถหักภาษี ณ ที่จ่าย3%
รายละเอียดเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่
บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
เลขที่ 98/83 หมู่ที่ 4ตำบลบึงยี่โถ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี12130
[email protected]อาจารย์พลกฤต โสลาพากุล