ครบเครื่องเรื่อง “การนำเข้า-ส่งออก” : พิธีการศุลกากร เปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ใหม่ พ.ร.บ.ศุลกากร ฉบับใหม่

25 - 26 มีนาคม 2562

หลักการและเหตุผล

         การนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเติบโตมากขึ้นตามความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ และการตกลงทางการค้าว่าด้วยเขตการค้าเสรี (FTA)โดยมีหลักการที่พยายามลดอุปสรรคทางการค้าลง โดยเฉพาะการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีระหว่างคู่สัญญา เนื่องจากขั้นตอนการนำเข้าสินค้ามีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และมีปัญหาทางด้านต้นทุน ผู้ประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าจะต้องทำความเข้าใจและศึกษาข้อปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อให้การประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้ม ค่ากับความตั้งใจการลงทุน

 

วันแรก

ครบเครื่องเรื่องการ"นำเข้า-ส่งออก"ทั้งระบบ (บรรยายโดย อ.วัชระ ปิยะพงษ์)

หัวข้อการสัมมนา 

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออก 

การไหลของวงจรการนำเข้า-ส่งออกที่สำคัญ

กระบวนการนำเข้า

กระบวนการส่งออก

การเจรจา การทำสัญญาในการทำธุรกรรมนำเข้า-ส่งออก

กระบวนการส่งหรือรับสินค้าเมื่อเกิดรายการขายหรือOrderในการนำเข้า-ส่งออก

ขั้นตอนการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนในการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก (Import-Export Process)

เอกสารทางการเงิน (Financial Document)

เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document)

เอกสารทางการค้า (Commercial Document)

กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน

1.กำหนดผู้ซื้อเป้าหมาย

เลือกผู้ซื้อเป้าหมาย 

ตรวจสอบสถานภาพทางการเงินของผู้ซื้อ

เสนอขาย

2.การทำสัญญาข้อตกลงในการซื้อขาย

ข้อควรระวัง 

เงื่อนไขในสัญญาต้องมีเพื่อลดความเสี่ยง

พิจารณาข้อกำหนดทางการค้า

3.วิธีการส่งสินค้าออกและการหาระวางบรรทุกสินค้า การขนส่งทางทะเล การขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางรถไฟ การขนส่งทางรถบรรทุก และส่งสินค้าทางพัสดุภัณฑ์ทางอากาศ

4..วิธีการส่งมอบสินค้าต้องอาศัยข้อกำหนดทางการค้าเป็นตัวกำหนด เพื่อไม่ให้เสียเปรียบ (International Commercial TermsหรือIncoterms ® 2010) 

EXW (Ex-Works) 

FCA (Free Carrier)

FAS (Free Alongside Ship)

FOB (Free on Board)

CFR (Cost and Freight)

CPT( Carriage Paid To)

CIF (Cost Insurance and Freight)

CIP (Carriage and Insurance Paid To)

DAT (Delivered at Terminal)

DAP (Delivered at place)

DPP (Delivered Duty Paid)

5.การวิเคราะห์เครื่องมือในการชำระเงิน

o Letter of Credit (L/C)ชำระด้วยแล็ตเตอร์ออฟเครดิต 

o Bills For lection (D/P & D/A)ตั๋วเรียกเก็บผ่านธนาคาร 

o Consignmentการฝากขาย 

o Open Account (O/A)ผู้ขายเปิดบัญชีขายเชื่อให้กับผู้ซื้อ 

o Cash Advanced Paymentการชำระเงินล่วงหน้าหรือการชำระด้วยเงินสด 

6.การวิเคราะห์Letter of Creditโดยละเอียด 

เงื่อนไขที่เสียเปรียบที่ไม่ควรรับ 

การเตรียมเอกสารและการตรวจเอกสารโดยใช้ข้อบังคับของUCP 600เป็นตัวพิจารณา

การขอแก้ไขL/C (Amendment)ที่ถูกต้อง

7.การขอให้มีการยืนยันการชำระเงินเพื่อลดความเสี่ยง

8.การNegotiateตั๋วในการส่งออกกับธนาคาร 

9.การทำInsuranceในการส่งออก 

10.วิธีการโอนL/Cให้กับผู้อื่น 

          10.1การโอนจำนวนเงินทั้งหมดในL/C 

          10.2การโอนบางส่วนเพื่อรับเงินผลต่าง (ตั๋วประกบ) 

          10.3การโอนให้กับผู้รับโอนมากกว่าหนึ่งราย 

11.เทคนิคเบื้องต้น ในการป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ด้วยForword Contract, Spot Contract,ฯลฯ 

12.แนวทางในการเลือกประกันภัยเพื่อคุ้มครองสินค้าที่จัดซื้อจากต่างประเทศ 

13.แนวทางในการเลือกวิธีการขนส่งสินค้าที่สั่งซื้อจากต่างประเทศที่คุ้มค่าปลอดภัย ทันเวลา และเหมาะสมกับสินค้า

 

วันที่สอง

เรื่อง พิธีการศุลกากร กฎหมายภาษีศุลกากร พ.ร.บ.ศุลกากรฉบับใหม่ ที่มีการเปลี่ยนแปลง

(บรรยายโดย อ.วิชัย มากวัฒนสุข)

1.หลักเกณฑ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ตามพระราชบัญญัติศุลกากร 2560 

2.ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย 

     -ธุรกิจนำเข้า-ส่งออก

     -เฟดฟอร์เวอร์เดอร์

     -ชิปปิ้ง

     -ขนส่งในท่าเรือ-นอกท่าเรือ

     -คอนเทนเนอร์และธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

3.ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงและวิธีการรับมือเพื่อไม่ให้ธุรกิจเสียหาย 

     -วิเคราะห์เปรียบเทียบประเด็นการเปลี่ยนแปลงกฎหมายศุลกากรและผลกระทบต่อเอกชน

     -ปัญหาการจ่ายเงินสินบนและเงินรางวัลให้กับเจ้าหน้าที่หรือสายลับ

4.การเปลี่ยนแปลงกฎหมายใหม่อะไรบ้างที่จะกระทบถึงลูกค้าและสิ่งที่ต้องแจ้งแก่ลูกค้าเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง 

5.จุดเปลี่ยนแปลงของพิกัดอัตราศุลกากรใหม่ AHTN 2017ที่จะกระทบรายได้ 

     -รายจ่ายของกิจการ พร้อมหลักเกณฑ์ใหม่ที่ถูกต้อง

6.การเปลี่ยนแปลงกฎหมายกระทบต่อการตรวจสอบภายหลังการตรวจสอบ (Post Audit)อย่างไร เจ้าพนักงานมีอำนาจในการตรวจมากขึ้นหรือไม่ และบทลงโทษที่ต้องระวัง 

     -ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ศุลกากรขอตรวจสอบเอกสารเกิน5ปี ผู้ประกอบการปฏิเสธไม่ให้ตรวจสอบได้หรือไม่

7.ผลกระทบจากการใช้พิกัดอัตราศุลกากรผิดต่อการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่ไม่ถูกต้อง 

8.อายุความประเมินและบทลงโทษใหม่ที่ผู้ประกอบการต้องทราบ 

     -การนับอายุความกรณีหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีอากร

9.การเปลี่ยนแปลงจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บนสำหรับทำการผลิต ผสมประกอบ บรรจุ 

10.การนำบทบัญญัติเรื่องการเก็บของในคลังสินค้าทัณฑ์บนมาใช้กับเขตปลอดอากร 

     -การนำของที่ได้รับยกเว้นหรือคืนอากรเมื่อส่งออกไปนอกราชอาณาจักรหากนำของนั้นเข้าไปในคลังสินค้าทัณฑ์บนให้ถือว่าเป็นการส่งออกนอกราชอาณาจักรซึ่งได้รับการยกเว้นหรือคืนอากรหรือไม่

11.การเปลี่ยนแปลงบทบัญญัติว่าด้วย "การขนส่งด้วยคอนเทนเนอร์"จะกระทบกับผู้ใช้และผู้ให้บริการอย่างไร 

12.การเปลี่ยนแปลงอายุความในการใช้สิทธิเรียกร้องเพื่อขอคืนอากร (การสงวนสิทธิ์) ประโยชน์ที่ผู้ประกอบการจะได้รับ 

13.การเปลี่ยนแปลงบทบัญญัติ เรื่อง การผ่านแดนและการถ่ายลำ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร 

     -ผู้ประกอบการที่ประกอบธุรกิจในประเทศCLMVต้องเตรียมตัวอย่างไร

14.การเปลี่ยนแปลงบทลงโทษกรณีซื้อหรือรับไว้ซึ่งของเนื่องด้วยความผิดตามมาตรา 27 

     -ต้องดูเจตนาของผู้กระทำความผิดด้วยหรือไม่

     -บทลงโทษที่มีการเปลี่ยนแปลง พร้อมอัตราโทษ

15.หลักการพิจารณาอุทธรณ์ของคณะพิจารณาอุทธรณ์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ดีต่อผู้ประกอบการหรือไม่ อย่างไร 

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม :

         ผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า-ส่งออก,นักธุรกิจ,ผู้ผลิต,ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อต่างประเทศ,ผู้นำเข้า-ส่งออก,พนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้สนใจทั่วไปที่ต้องการทำธุรกิจ นำเข้า-ส่งออกเข้า

วิธีการสัมมนา บรรยาย กรณีศึกษา (Case Study)

 

อาจารย์วัชระ ปิยะพงษ์

อาจารย์วิชัย มากวัฒนสุข

 

โรงแรมอไรซ์ สุขุมวิท26

 

บุคคลทั่วไป ท่านละ7,800บาท

สมาชิก / ลงทะเบียน2ท่านขึ้นไป ท่านละ7,000บาท

**ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม7%**


วิทยากร

อาจารย์วัชระ ปิยะพงษ์

อาจารย์วิชัย มากวัฒนสุข



สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมอไรซ์ สุขุมวิท26

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

25 - 26 มีนาคม 2562

จัดโดย

บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 0623155283, 021912509

ค่าธรรมเนียม (FEE)

7800 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 637 ครั้ง