ประโยชน์ของการจัดทำมาตรฐานแรงงานไทย
1. สถานประกอบกิจการ มีสินค้าและบริการได้รับการยอมรับ น่าเชื่อถือและไว้วางใจที่เกิดจากการบริหารจัดการแรงงานที่เป็นธรรม คำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมด้านแรงงานที่มีการดำเนินการอย่างมีมาตรฐาน และเคารพหลักสิทธิมนุษยชนสากล
2. แรงงานมีความมั่นคงในการทำงาน ได้รับการคุ้มคาองไม่น้อยกว่ากฎหมายกำหนด ได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม มีความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยที่ดี
3. ประเทศมีภาพลักษณ์ที่ดี มีความสามารถในการแข่งขันทางการค้าอย่างยั่งยืน
เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)
1. ความเป็นมาและขอบเขตการนำไปใช้
2. เอกสารอ้างอิง พระราชบัญญัติ อนุสัญญา ปฎิญญาภาคี ปฎิญญาไตรภาคึ ปฎิญญาสากล
3. หลักปฏิบัติ และมาตรฐานการจัดการระบบคุณภาพ ที่เกี่ยวข้อง
4. ข้อกำหนดต่าง ๆ ตามประกาศข้อกำหนด มรท.๘๐๐๑-๒๕๖๓
1.1 ข้อกำหนดทั่วไป 1.2 ระบบการจัดการ
5. เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับสภาพการจ้าง สภาพการทำงาน เสรีภาพในการสมาคมและเจรจาต่อรอง และความปลอดภัยในการทำงาน และสวัสดิการแรงงาน
1.1 การใช้แรงงานบังคับ
1.2 ค่าตอบแทนการทำงาน
1.3 ชั่วโมงการทำงาน และเวลาพัก
1.4 วันหยุดและวันลา
1.5 การเลือกปฏิบัติ
1.6 วินัยและการลงโทษ
1.7 การล่วงเกินทางเพศ และการใช้ความรุนแรง
1.8 การใช้แรงงานเด็ก
1.9 การใช้แรงงานหญิง
1.10 เสรีภาพในการสมาคมและการร่วมเจรจาต่อรอง
1.11 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
วิทยากร อาจารย์สานุพันธ์ ใบศรี
Jasmine City Hotel ซอยสุขุมวิท 23 ใกล้ BTS อโศก กทม. ** สถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง **
23 มีนาคม 2564 9.00-16.00 น.
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 090 645 0992 , 089 606 0444
3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)