ขจัดทุกปัญหาคาใจเลิกจ้างอย่างไรให้ถูกต้อง และเป็นธรรม

3 กันยายน 2563

หัวข้อการสัมมนา

การเลิกจ้าง

  • หลักเกณฑ์การเลิกจ้างอย่างถูกต้อง / การเลิกจ้างเป็นหนังสือ ด้วยวาจา หรือปริยาย
  • ผู้มีอำนาจเลิกจ้าง เลิกจ้างแทน เลิกจ้างโดยปริยาย การควบรวมโอนย้ายที่เป็นการเลิกจ้าง
  • การให้เหตุผลเลิกจ้าง ต้องให้ตอนไหน อย่างไร ด้วยวาจาได้หรือไม่ ไม่ให้เหตุผลปฏิเสธค่าชดเชยไม่ได้ แต่ปฏิเสธค่าเสียหายเลิกจ้างไม่เป็นธรรม หรือสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าได้หรือไม่

วิธีการบอกเลิกสัญญาจ้าง

  • ใครบอก บอกอย่างไร บอกแก่ใคร ระยะนานเท่าใด
  • กรณีที่ต้องบอกและไม่ต้องบอกล่วงหน้า ผลเป็นอย่างไร ต้องรับผิดชอบอะไรบ้าง
  • การบอกเลิกสัญญาจ้างทดลองงาน /การให้ลูกจ้างลาออกก่อนกำหนด
  • การเกษียณอายุ
  • กรณีที่ให้ชาย- หญิงเกษียณไม่เท่ากัน
  • กรณีการเกษียณตามลักษณะงาน/การเกษียณก่อนกำหนด
  • การขยายระยะเวลาเกษียณ การต่ออายุเกษียณ การทำสัญญาใหม่หลังเกษียณ
  • การไม่ยอมให้เกษียณ /เงินต่างๆ ที่ต้องจ่ายหลังเกษียณ

การเลิกจ้างโดยลูกจ้างไม่ได้กระทำผิดวินัย

  • นายจ้างไม่มีสิทธิ์เลิกจ้าง / ลูกจ้างเจ็บป่วย
  • ลูกจ้างกระทำโดยประมาทเล็กน้อย

 การเลิกจ้างโดยลูกจ้างกระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรง

  • ทำผิดลักษณะไม่รุนแรง
  • ผลเสียหายไม่มาก
  • ทำผิดโดยมีเหตุอันควร
  • ฝ่าฝืนคำสั่งที่ไม่เป็นธรรม
  • ทำผิดเพียงใช้วาจา คำพูด การกระทำที่ไม่เหมาะสม

การเลิกจ้างโดยลูกจ้างกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง

  • ลูกจ้างกระทำผิดกฎหมายอาญา
  • ลูกจ้างทำผิดลักษณะรุนแรง
  • ลูกจ้างก้าวร้าว หมิ่นประมาทผู้บังคับบัญชา
  • ลูกจ้างกระทำเป็นปฏิปักษ์ต่อนายจ้าง
  • การกระทำที่ผิดศีลธรรมอันดี
  • การกระทำผิดที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้อื่น

การเลิกจ้างโดยลูกจ้างกระทำผิดตามมาตรา 119

  • ลูกจ้างทุจริตต่อหน้าที่
  • ลูกจ้างประมาททำให้นายจ้างเสียหายอย่างมาก
  • ลูกจ้างกระทำผิดซ้ำคำเตือน
  • ลูกจ้างละทิ้งหน้าที่3วันทำงานติดต่อกัน

ความรับผิดกรณีเลิกจ้าง

  • ค่าชดเชย
  • ค่าชดเชยพิเศษ
  • ค่าเสียหายจากการผิดสัญญา
  • ค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า

การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม

  • หลักเกณฑ์ที่เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรม
  • กรณีที่นายจ้างต้องรับกลับหรือชดใช้ค่าเสียหาย
  • ค่าเสียหาย ใครกำหนด อะไรบ้าง จำนวนเท่าใด
  • กรณีที่ไม่ใช่การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
  • หลักเกณฑ์การเลิกจ้าง เพราะขาดทุนหรือ เปลี่ยนโครงสร้าง หรือควบรวม หรือปิดกิจการ

การเลิกจ้างคณะกรรมการลูกจ้าง

  • ต้องขออนุญาตศาลแรงงาน ขอเมื่อใด อย่างไร
  • กรณีที่ต้องขอกับกรณีไม่ต้องขออนุญาต
  • ความรับผิดหากเลิกจ้างโดยไม่ขออนุญาต

การเลิกจ้างที่เป็นการเลิกจ้างที่เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม

  • เลิกจ้างลูกจ้างที่ยื่นข้อเรียกร้อง ลูกจ้างที่ฟ้องคดีต่อศาล หรือตั้งสหภาพแรงงาน
  • เลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน
  • นายจ้างต้องรับผิดให้รับกลับหรือชดใช้ค่าเสียหายอะไรบ้าง จำนวนเท่าใด

การดำเนินคดีหรือต่อสู้คดีเกี่ยวกับการเลิกจ้าง

  • โจทก์ต้องร่างฟ้องอย่างไร ยื่นศาลไหน อายุความเท่าใด เสียค่าฤชาธรรมเนียมหรือไม่
  • ต้องนำพยานหลักฐานอะไรมาพิสูจน์ต่อศาล
  • จำเลยต้องให้การต่อสู้คดีอย่างไร จึงมีประเด็น

วิทยากรโดย...อาจารย์รุ่งโรจน์ รื่นเริงวงศ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายแรงงาน

โปรโมชั่น

เมื่อสำรองที่2 ท่านรับส่วนลดรวม800 บาท,

สมัคร4ท่านขึ้นไป เหลือ2,900 บาท/ท่าน(ปกติ 3,900 บาท/ท่าน) ก่อนVAT


สอบถามและสำรองที่นั่งได้ที่ คุณเล็ก
โทร. 063-846-6405 Line : https://lin.ee/8ADNFiH
www.chosenthebest.com

คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

jผู้บริหาร kเจ้าของกิจการ lฝ่ายบุคคล mนิติกร หรือ ฝ่ายกฎหมาย nผู้ที่สนใจหรือสายงานที่เกี่ยวข้อง

วิทยากร

อาจารย์รุ่งโรจน์ รื่นเริงวงศ์




สถานที่อบรม (VENUE)

NOVOTEL BANGKOK SUKHUMVIT 20

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

3 กันยายน 2563 09.00-16.00

จัดโดย

โชเซ่น เดอะ เบสท์
เบอร์ติดต่อ : 0638466405

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3,900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 589 ครั้ง