การวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ (Failure Mode and Effects Analysis) (New FMEA-VDA 1St Edition)

12 กุมภาพันธ์ 2563

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

         ในโลกแห่งการแข่งขันที่รุนแรงเพิ่มขึ้นทุกวันทุกๆ องค์กรต่างพัฒนายกระดับคุณภาพของสินค้าของตนเองอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ตรงกับความต้องการและสามารถตอบสนองต่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้าการควบคุมคุณภาพจึงเป็นสิ่งหนึ่งที่จะขาดไม่ได้ในการที่จะทำให้องค์กรบรรลุถึงความต้องการดังกล่าวข้างต้นการควบคุมคุณภาพจะทำได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกระบวนการวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ (Failure Mode and Effects Analysis) FMEAเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญในการป้องกันปัญหาความล้มเหลวในส่วนของขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์และการออกแบบควบคุมกระบวนการสำหรับผลิตภัณฑ์เนื้อหาในหลักสูตรของ FMEAจะช่วยให้องค์กรมีความรู้พื้นฐานที่สำคัญในการเตรียมการเพื่อวิเคราะห์ความบกพร่องและผลกระทบอย่างเป็นขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ ในขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์และการออกแบบควบคุมกระบวนการอย่างมีประสิทธิผล รวมทั้งการนำเทคนิคFMEAเข้ามาประยุกต์ใช้ และสิ่งที่สำคัญที่สุดคือจะต้องสามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้จริงในการทำงาน 

New FMEA Methods 7 steps (มาจากVDA) 

1.การวางแผนและเตรียมการ (Planning and Preparation) 

2.วิเคราะห์โครงสร้าง (Structure Analysis) 

3.วิเคราะห์หน้าที่ (Function Analysis) 

4.วิเคราะห์ความล้มเหลว (Failure Analysis) 

5.วิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) 

6.การจัดการให้ดีและเหมาะสมที่สุด (Optimization) 

7.การนำผลการวิเคราะห์ไปจัดทำเป็นเอกสาร (Results Documentation) 

วัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม

1.เพื่อให้เข้าใจเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจหลักการของการวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ FMEA-VDA New Version 1St Edition 

2.เพื่อให้เข้าใจและทราบหน้าที่และความรับผิดชอบของทีมงานในการจัดทำ FMEA's 

3.เพื่อให้เข้าใจProcess -FMEAว่าเป็นเครื่องมือหนึ่งในการลดข้อบกพร่อง ลดของเสียในกระบวนการผลิต 

4.เพื่อให้มีความเข้าใจในขั้นตอนของการวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบตามคู่มือมาตรฐานฉบับใหม่ 

5.สามารถจัดทำProcess -FMEAที่ช่วยป้องกันไม่ให้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดส่งมอบสู่ลูกค้า

 

เนื้อหาหลักสูตร :

ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ FMEA 

วัตถุประสงค์ของFMEA 

ความหมายหมายของFMEA 

ประเภทของFMEA 

การประยุกต์ใช้FMEAตามมาตรฐานของระบบคุณภาพ ISO/TS16949:2009 (IATF 16949) 

หลักการทำFMEAในแต่ละPhaseตามขั้นตอนAPQP 

ประวัติความเป็นมาของการจัดทำ FMEAฉบับใหม่ (New FMEA-VDA 1St Edition) 

รายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงใน FMEAฉบับใหม่โดยเน้นในส่วนของ PFMEA 

วิธีการจัดทำFMEAแบบ7ขั้นตอน (Seven Steps Approach) (New FMEA-VDA 1St Edition) 

  1.ตารางการประเมินคะแนนสำหรับผลกระทบ (Severity)โอกาสเกิด (Occurrence) และความสามารถในการตรวจจับ (Detection) 

  2.การจัดลำดับความความเสี่ยงด้วยตารางการจัดลำดับการดำเนินการ (Action Priority) 

  3.แบบฟอร์มใหม่ในFMEA ฉบับใหม่ 

  4.การปรับเปลี่ยนFMEA ปัจจุบันให้สอดคล้องกับFMEAฉบับใหม่ 

  5.ข้อกำหนดเฉพาะลกูค้าสำหรับการใช้FMEAฉบบัใหม่ 

  6.ภาพรวมการวิเคราะห์แนวโน้มลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบของกระบวนการ 

  7.วิธีการเขียนFMEA ภาคปฏิบัติ 

เทคนิคการลงบันทึกในเอกสาร FMEAฉบับใหม่ 

แนวคิดและเทคนิคของ Process FMEAและวิธีการนำไปใช้กับขั้นตอนการออกแบบกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ 

เกณฑ์การประเมินและให้คะแนนของค่าความรุนแรง,โอกาสเกิด และการตรวจจับตามคู่มือFMEAฉบับใหม่ 

กรณีศึกษา + แบ่งกลุ่มทำWork shopและอภิปราย 

ถาม - ตอบ 


ลักษณะการอบรม :

1.การบรรยายสื่อสาร2ทาง โดยทฤษฎี30 %ปฏิบัติ70 % 

2.ทำWorkshopกิจกรรมกลุ่ม + นำเสนอผลการวิเคราะห์และอภิปราย 


ผู้ควรเข้ารับการอบรม

Ø ฝ่ายNew Model, R&D, Engineering 

Ø ฝ่าย การตลาด 

Ø ฝ่าย จัดซื้อ 

Ø ฝ่ายQC/QA 

Ø ฝ่ายผลิต 

Ø บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผู้จัดการ วิศวกร หัวหน้างาน และผู้สนใจทั่วไป

 

อาจารย์พิทักษ์ บุญชม

 

โรงแรมอไรซ์ สุขุมวิท26

 

บุคคลทั่วไป ท่านละ3,900บาท

สมาชิก ท่านละ3,500 บาท

ลงทะเบียน3ท่านขึ้นไป ท่านละ3,200บาท

ลงทะเบียน5ท่านขึ้นไป ท่านละ2,900บาท

**ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%**


บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
34/289หมู่บ้านไทยสมบูรณ์ 2หมู่ที่2ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี12120

www.knctrainingcenter.com

[email protected]
โทร. :02-191-2509,062-315-5283

วิทยากร

อาจารย์พิทักษ์ บุญชม



สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมอไรซ์ สุขุมวิท26

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

12 กุมภาพันธ์ 2563 09.00-16.00

จัดโดย

บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 02-191-2509, 062-315-5283

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 708 ครั้ง