การบริหารงานบุคคลของฝ่ายบุคคลมือใหม่

27 มีนาคม 2563

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา  ทราบเทคนิคในการสรรหา-ว่าจ้างพนักงานใหม่   เพื่อให้ได้คน ให้ตรงกับงาน และทราบการกำหนดเงื่อนไขการจ้างไว้ในสัญญาจ้าง เพื่อเกิดผลต่อการลงโทษทางวินัยหรือเลิกจ้าง

2. เพื่อให้เกิดความรู้ ที่ได้รับไปปฏิบัติได้จริง ต่อการออกระเบียบปฏิบัติ - ประกาศ หรือคำสั่งต่าง ๆ  และหลักการลงโทษทางวินัยที่ไม่ขัดต่อกฎหมายแรงงาน

3. เพื่อให้ทราบถึงการพิจารณาความผิด ที่กำหนดโทษทางวินัยเป็นกรณีร้ายแรง หรือไม่ร้ายแรง และเทคนิคการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อบังคับในการทำงาน ให้สอดคล้องกับกฎหมายใหม่

หัวข้อในการอบรม

1.               การดำรงตนของผู้บริหารงานบุคคลที่ดี ต้องปฏิบัติ อย่างไร..?

·     ยกตัวอย่าง การรักษาความลับของนายจ้าง-การยึดหลักนิติรัฐ-นิติธรรม-การวางตัว

2.               การพิจารณาแหล่งที่มาของแรงงานเพื่อนำแรงงานเข้ามาทำงานในองค์กร

·     ยกตัวอย่าง แหล่งที่มาของแรงงาน7ช่องทาง

3.               เทคนิคการสัมภาษณ์งาน-การคัดเลือกพนักงานใหม่เพื่อให้ได้คนให้ตรงกับงาน

·     ยกตัวอย่าง องค์ประกอบที่จะนำมาพิจารณา

4.               การทำสัญญาจ้างพนักงานทดลองงานและการกำหนดค่าจ้าง-กำหนดค่าสวัสดิการ เพื่อไม่ให้มีสภาพได้รับสิทธิเหมือนพนักงานที่ได้บรรจุเป็นพนักงานประจำแล้ว

·     มีตัวอย่าง แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาพร้อมคำอธิบาย

5.               การทำสัญญาจ้างบริษัทฯรับเหมาค่าแรง บริษัทรับเหมา (outsource ) เพื่อให้นำแรงงานเข้ามาทำงานในองค์กร

·     มีตัวอย่าง แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาพร้อมคำอธิบาย

6.               การทำสัญญาจ้างพนักงานที่ผ่านการทดลองงานแล้ว เพื่อบรรจุเป็นพนักงานประจำของบริษัทฯ และการกำหนดค่าจ้าง-กำหนดค่าสวัสดิการ-กำหนดเงื่อนไขไว้ในสัญญาจ้างหรือกำหนดข้อห้ามไว้ในสัญญาจ้าง

·     มีตัวอย่าง แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาพร้อมคำอธิบาย

7.               การเขียนระเบียบปฏิบัติซึ่งเป็นสวัสดิการที่เป็นเงิน เพื่อจะไม่ทำให้ผูกพันกับการเอาไปรวมเป็นค่าจ้างหรือรวมเป็นฐานของเงินเดือน (เพื่อเรียกร้องค่าชดเชยในกรณีออกจากงาน)

·     มีตัวอย่าง แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาพร้อมคำอธิบาย

8.    การทำสัญญาจ้าง-การกำหนดไว้ในบังคับฯ- กำหนดไว้ในระเบียบปฏิบัติ-ประกาศหรือคำสั่งต่างๆที่นายจ้างทำขึ้น-บังคับใช้ตามกฎหมายไม่ได้ (เป็นโมฆะ)มีกรณีใดบ้าง..?

·     ยกตัวอย่าง 7กรณีพร้อมคำอธิบาย

9.นายจ้างต้องปฏิบัติต่อลูกจ้างของบริษัทรับเหมาค่าแรง  (outsource ) ตามมาตรา11/1ที่เป็นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติ ต้องปฏิบัติอย่างไร.?

·     ยกตัวอย่าง การจ่ายค่าจ้าง-จ่ายค่าสวัสดิการ พร้อมคำอธิบาย

10.         อยากเลิกจ้างพนักงานที่หยุดงานมาก (ลากิจ-ลาป่วยมาก) ต้องแจ้ง-ต้องจ่ายค่าอะไรบ้างเพื่อป้องกันไม่ให้ลูกจ้างฟ้องภาหลังต้องออกหนังสือเลิกจ้างอย่างไร..?

·     มีตัวอย่าง การออกหนังสือเลิกจ้าง แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา

11.         นายจ้างเลิกจ้างต้องบอกกล่าวล่วงหน้า ต่อลูกจ้างเมื่อใด..?

·     ยกตัวอย่าง ลูกจ้างทดลองงาน-ลูกจ้างรายวัน-ลูกจ้างรายเดือน-นายจ้างปิดกิจการ-ย้ายกิจการ

12.         กรณีลูกจ้างลาออกงานและอยู่ไม่ครบ 30วัน ตามสัญญาจ้างหรือยื่นใบลาออกแล้วหายไปลูกจ้างจะมีความผิด ชดใช้ค่าเสียหายอย่างไร..?

·     ยกตัวอย่าง ตำแหน่งงานต่างๆ พร้อมคำอธิบาย

13.         ลูกจ้างออกจากงานจะได้รับสิทธิในวันหยุดพักผ่อนอย่างไร..?

·     กรณีมีวันพักผ่อนสะสม-ลาออก-เลิกจ้าง-ผิดวินัยร้ายแรง

14.         ลางาน5ประเภทที่ลูกจ้างลาได้รับค่าจ้าง -ในแต่ละประเภทลาได้รับค่าจ้างกี่วัน

·     ลากิจ-ลาป่วย-ลาทำหมัน-ลาเพื่อราชการทหาร-ลาคลอดบุตร

15.         กรณีนายจ้างประกาศกำหนดวันหยุดตามประเพณีไปแล้ว ต้องการเปลี่ยนให้เป็นวันทำงานและจะเปลี่ยนไปหยุดในวันอื่นต้องดำเนินการอย่างไร..?

·     มีคำแนะนำ ในทางปฏิบัติ พร้อมคำอธิบาย

16.         ลูกจ้างรายวัน-รายเดือน จ่ายค่าจ้าง-ค่าล่วงเวลา-ค่าทำงานในวันหยุด-ค่าล่วงเวลาในวันหยุด จ่ายค่าจ้างให้ถูกต้องตามกฎหมายกำหนดต้องจ่ายอย่างไร..?

·     ยกตัวอย่าง ข้อแตกต่างพนักงานรายวัน-รายเดือน

17.         ลูกจ้างที่ทำงานไม่มีสิทธิ ได้รับค่าล่วงเวลาและค่าทำงานในวันหยุดมีตำแหน่งงานใดบ้าง

·     ข้อแตกต่าง ระหว่างพนักงานระดับบริหาร-หัวหน้างาน

18.         ลูกจ้าง ลาออกจากงานหรือนายจ้างเลิกจ้าง ต้องจ่ายค่าจ้าง-ค่าล่วงเวลา-ค่าทำงานในวันหยุด-ค่าล่วงเวลาในวันหยุดเมื่อใด..?

·     ข้อแตกต่างการได้รับ กรณีลาออก-กรณีนายจ้างเลิกจ้าง-นายจ้างปลดออก-ไล่ออก

19.         การจ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างที่ไปทำงานในท้องที่อื่นนอกจากท้องที่สำหรับการทำงานปกติ

·     ค่าจ้าง-ค่าเดินทาง-ค่าเดินทางในวันหยุด-ค่าล่วงเวลาในระหว่างเดินทาง

20.         นายจ้างหักเงินค่าจ้าง-ค่าล่วงเวลา-ค่าทำงานในวันหยุด-ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ได้มีหักค่าอะไรบ้าง..?

·     การหักจากเงินเดือน-การหักจากรายได้รวมค่าล่วงเวลาและเงินรายได้อื่น

21.         มีหน่วยงานภาครัฐแจ้งหนังสือต่อนายจ้างเพื่ออายัดเงินเดือนของลูกจ้างผู้บริหารงานบุคคลต้องทำอย่างไร..?

·     การหักจากเงินเดือน-รายได้รวม-โบนัส-เงินออกจากงาน

22.         เลิกจ้างตามสัญญาจ้างงานประเภทใด...นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

·     ยกตัวอย่าง การเลิกจ้างตามสัญญาจ้างต่างๆ

23.         นายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการไปตั้งที่อื่น กรณีลูกจ้างไม่ประสงค์จะย้ายไปด้วยลูกจ้างต้องแจ้ง หรือนายจ้างต้องแจ้ง-ต้องจ่ายค่าอะไรบ้าง..?

·     ยกตัวอย่าง ข้อปฏิบัติของนายจ้าง-การใช้สิทธิของลูกจ้าง พร้อมคำอธิบาย

24.         กรณีเลิกจ้างเพราะเหตุที่นายจ้างปรับปรุงหน่วยงาน-ปรับปรุงกระบวนการผลิตซึ่งเป็นเหตุให้ต้องลดกำลังพล นายจ้างต้องแจ้ง-ต้องจ่ายค่าอะไรบ้าง..?

·     การบอกกล่าวล่วงหน้า-ค่าชดเชย-ค่าชดเชยพิเศษ

25.         ร่วมกันชุมนุมเพื่อกดดันนายจ้างให้จ่ายค่าจ้างหรือค่าสวัสดิการต่างๆ ผู้บริหารงานบุคคล จะดำเนินการอย่างไร..? เพื่อให้ปัญหายุติลง

·     ยกตัวอย่าง การใช้เทคนิคในการแก้ปัญหาการชุมนุมในกรณีต่างๆ

26.         ชอบหลบงาน-ละทิ้งหน้าที่-ออกนอกหน่วยงานไปสูบบุหรี่หรือไปแสวงหาผลประโยชน์ให้กับตน ผู้บริหารงานบุคคล จะดำเนินการอย่างไร..?

·     ยกตัวอย่าง การยึดหลักเพื่อลงโทษทางวินัย

27.         ความผิดที่ ลงโทษเป็นหนังสือเตือนหรือสั่งพักงาน เป็นความผิดลักษณะใด..?

·     ยกตัวอย่าง การทำผิดวินัย7กรณี

28.         การออกหนังสือเตือนเขียนให้ดี -ให้ครอบคลุมความผิดและมีผลทางกฎหมายต้องเขียนอย่างไร..?

·     มีตัวอย่าง แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาพร้อมคำอธิบาย

29.         กรณีลูกจ้างไม่ยอมรับผิด -ไม่ยอมลงลายมือชื่อในหนังสือเตือนต้องปฏิบัติอย่างไร..?

·     มีตัวอย่าง การทำบันทึก กรณีไม่ยอมรับผิดในหนังสือเตือนแจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา

30.         ความผิดที่กำหนดโทษทางวินัยเป็นกรณีร้ายแรงที่เลิกจ้างได้ โดยไม่จ่ายค่าชดเชยใดๆไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นความผิดลักษณะใด..?

·     ยกตัวอย่าง การทำผิดวินัยร้ายแรง7กรณี

31.         การออกหนังสือเป็นระเบียบปฏิบัติ กรณีมาทำงานสาย ต้องเขียนอย่างไร..?

·     มีตัวอย่าง แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาพร้อมคำอธิบาย

32.         การออกหนังสือเป็นระเบียบปฏิบัติ การลากิจ-ลาพักผ่อน ต้องเขียนอย่างไร..?

·     มีตัวอย่าง แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาพร้อมคำอธิบาย

33.         ใช้ของแหลมมีคมกรีดรถยนต์ เพื่อนร่วมงานเป็นความผิดร้ายแรงหรือไม่เพราะอะไร..?

34.         ดื่มสุราหรือเสพสารเสพติดแล้วเข้ามาทำงานลงโทษอะไรได้บ้าง..?

35.         ใช้โทรศัพท์- notebook-คอมพิวเตอร์ของนายจ้างอันมิใช่เรื่องที่ทำงานให้กับนายจ้าง ลงโทษอะไรได้บ้าง..?

36.         กรณีลูกจ้างชายพูดจาลวนลามลูกจ้างหญิงซ้ำๆ และยังทำท่าทางประกอบหลายครั้งจนลูกจ้างหญิงรู้สึกอายจะมีความผิดอย่างไร..?

37.         มีพนักงานสร้างกระแส-ยุยง-ปุกปั่น- สร้างความแตกแยกในองค์กรหรือให้ข้อมูลที่ไม่เกิดผลดีต่อพนักงานใหม่ ผู้บริหารงานHR.ต้องจัดการอย่างไร..?

38.         การสร้างสิ่งโน้มน้าวจิตใจให้พนักงานรักองค์กรและอยู่กับองค์กรได้นานๆ ผู้บริหารงานบุคคลต้องดำเนินการอย่างไร..?

39.         การแก้ปัญหากรณีพนักงานทำผิดวินัยบ่อยๆต้องดำเนินการอย่างไร..?

40.         การแก้ไข-เปลี่ยนแปลง ข้อบังคับในการทำงาน ให้สอดคล้องกับกฎหมายใหม่ ต้องดำเนินการอย่างไร..?

·     ถาม-ตอบ-แนะนำ

·    ให้คำปรึกษาหลังการสัมมนา "ฟรี"ตลอดกาลไม่มีค่าใช้จ่าย


รายละเอียดหลักสูตรอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่นี่ คลิ๊ก http://www.hrdzenter.com/

สำรองที่นั่ง ติดต่อเพิ่มเติมได้ที่   คุณธนนันท์    090 645 0992 , 089 606 0444,Line : hrdzenter

www.hrdzenter.com ,E-mail : [email protected] ,  www.facebook.com/hrdzenter, IG : hrd_zenter


วิทยากร

อาจารย์สมบัติ น้อยหว้า



สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมรัตนชล จ.ชลบุรี

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

27 มีนาคม 2563 09.00 - 16.00

จัดโดย

บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 089-606-0444 , 090-645-0992

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 668 ครั้ง