การตีความและการประยุกต์ใช้ VDA 6.3 ในการตรวจประเมินกระบวนการ (VDA 6.3 Interpretation and Applicati

24 มีนาคม 2568



หลักการและเหตุผล

สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์เยอรมัน (VDA) ได้นำVDA6.3 มาใช้การตรวจประเมินผู้ส่งมอบในระดับต่าง ๆ (Tier I, Tier II....)และคาดหวังให้ผู้ส่งมอบได้นำ ระบบการจัดการคุณภาพ VDA6.3 ไปปฏิบัติและบำรุงรักษา  มาตรวจประเมินตนเองและตรวจประเมินผู้ส่งมอบในระดับถัดไปด้วยเช่นกัน VDA6.3 เป็นการตรวจประเมินProcess Auditที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติว่าเป็นระบบการตรวจประเมินหน้างานที่ดีที่สุด เกณฑ์การตรวจประเมินVDAเน้นที่คุณภาพของผลิตภัณฑ์และกระบวนการ เน้นที่ความสามารถด้านการผลิตของผลิตภัณฑ์และกระบวนการ ดังนั้นเหมาะกับองค์กรที่คาดหวังระบบการตรวจประเมินหน้างานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด และให้ความสำคัญกับของเสียสูงสุด ควรประยุกต์ใช้มาตรฐานVDA6.3 นี้เป็นอย่างยิ่งแนวทางที่มีโครงสร้างในการวิเคราะห์กระบวนการ ระบบการประเมินและคะแนน กฎการลดระดับที่ชัดเจน รวมถึงการการระบุความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์และกระบวนการเฉพาะ ซึ่งเป็นการนำเสนอผลลัพธ์ของการประเมินกระบวนการอย่างชัดเจน และเป็นการเปรียบเทียบผลลัพธ์ของผลิตภัณฑ์และกระบวนการที่คล้ายคลึงกันทั่วโลก และเป็นการวิเคราะห์ศักยภาพในการประเมินความเหมาะสมของซัพพลายเออร์ สถานที่ และเทคโนโลยีใหม่ก่อนการมอบสัญญาเน้นที่กระบวนการและผลิตภัณฑ์มากกว่าระบบ การตรวจสอบกระบวนการVDA6.3 ได้ถูกบูรณาการเข้าในระบบQM และมีส่วนช่วยในการปฏิบัติตามข้อกำหนดตามมาตรฐานIATF16949

 

หัวข้อการอบรม (1วัน เวลา9.00 - 16.00.)

 

§ ที่มา และความสำคัญของVDA 6.3 ในอุตสาหกรรมยานยนต์

§ ภาพรวมของมาตรฐาน VDA และIATF 16949   (Overview of VDA Standard and IATF 16949)

§ การบูรณาการในวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์  (Integration into the product life cycle )

§ หลักการพื้นฐานของการตรวจประเมินกระบวนการ (Basic Principles of Process Auditing)

§ การวิเคราะห์ความเสี่ยงเบื้องต้น (Preliminary risk analysis)/ Workshop

§ คุณสมบัติและบทบาทของผู้ตรวจประเมิน VDA 6.3

§ โครงสร้างและเนื้อหาของข้อกำหนด VDA 6.3โดยภาพรวม

§ การจัดการโครงการ (P2 Project Management)

§ การวางแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการ  (P3 Planning the product and process development)

§ การดำเนินการของผลิตภัณฑ์และการพัฒนากระบวนการ  (P4 Implementation of the product and process development)

§ การจัดการซัพพลายเออร์  (P5 Supplier Management)

§ การวิเคราะห์กระบวนการการผลิต  (P6 Process Analysis Production)

§  ฝ่ายสนับสนุนลูกค้า  (P7 Customer support)

§ การวิเคราะห์ศักยภาพ  (P1 Potential Analysis) / ถาม-ตอบ

·      ผู้จัดการฝ่ายฝึกอบรม กลุ่มบริษัทเครือยูคอม (บมจ.ยูไนเต็ดคอมมูนิเคชั่น) ฯลฯ


สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรม แรมแบรนท์ ซอยสุขุมวิท 18 ใกล้ BTS อโศก กรุงเทพฯ ** สถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

24 มีนาคม 2568 09.00-16.00 น.

จัดโดย

ดีทีเอ็นเทรนนิ่ง
เบอร์ติดต่อ : 096-669-5554 ,064-325-4946

ค่าธรรมเนียม (FEE)

4000 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 52 ครั้ง