จากปัญหาการขาดแคลนแรงงานในบางตำแหน่งงาน ที่คนไทยไม่ทำ รัฐบาลจึงได้แก้ปัญหาให้ผู้ประกอบการ ได้มีแรงงานเพื่อ ผลิตสินค้าให้ได้ตามความต้องการของลูกค้า ดังนั้น รัฐบาลจึงได้ทำข้อตกลงสนธิสัญญาระหว่างประเทศ หรือเรียกว่า MOU กับประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย อาจจะมีเหตุผลเพื่อการสื่อภาษาได้ง่าย - การนับถือศาสนา - สะดวกในการเดินทางเข้า - ออก อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้แรงงานต่างด้าวมีรายได้ มีงานทำ และได้มีโอกาสพัฒนาประสิทธิภาพแรงงานได้อีก
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม
มีความเข้าใจ ถึงวิธีการ
หรือขั้นตอนการนำแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานให้กับองค์กรได้ถูกต้อง
ตามกฎหมายแรงงานไทย
2. เพื่อให้การบริหารการจัดการแรงงานต่างด้าว
ได้รับสิทธิ์ต่างๆ ตามกฎหมายแรงงานไทย และได้รับทราบการกล่าวโทษทางวินัย ของนายจ้าง - ลูกจ้าง ที่ทำผิดจะได้รับโทษอย่างไร?
3. เพื่อให้นำองค์ความรู้จากการอบรม ไปปฏิบัติจริงต่อการบริหารแรงงานต่างด้าว
และแรงงานไทยให้อยู่ร่วมกันในองค์กร อย่างมีความสามัคคีกัน
ให้เกียรติซึ่งกันและกัน
หัวข้ออบรม
1. ปัจจุบันค่าจ้างขั้นต่ำ ไทย เมียนมา ลาว กัมพูชา
มีอัตราต่างกันเท่าใด?
2. ปัญหาที่นายจ้างต้องจ้างแรงงานต่างด้าว มาจากอะไร?
3. นายจ้างมีสิทธิ์จ้างแรงงานต่างด้าวกับตน
มีงานประเภทใดบ้าง?
4. ข้อตกลง MOU ที่รัฐบาลไทย เมียนมา ลาว กัมพูชา
ทำขึ้นต่อกันมีความหมายอย่างไร?
5. วัตถุประสงค์ของการออก
(พรก.) บริหารจัดการ การจ้างแรงงานต่างด้าว มีขึ้นเพื่ออะไร?
6. การนำแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ เมียนมา ลาว กัมพูชา
เข้ามาทำงานอย่างถูกกฎหมายภายใต้ MOU ที่นายจ้างนำเข้ามาเองหรือนำเข้าผ่านบริษัทนำเข้าแรงงานต่างด้าว
เข้ามาทำงานในประเทศ มี 8 ขั้นตอน
มีอะไรบ้าง?
7. รายละเอียดการบริหารจัดการ การจ้างแรงงานต่างด้าว มี 9 ประการ อะไรบ้าง?
8. หน้าที่ของนายจ้างที่รับต่างด้าวเข้ามาทำงานกับตน
มี 5 ประการ อะไรบ้าง?
9. หน้าที่ของต่างด้าวที่เข้ามาทำงานในราชอาณาจักร
มี 5 ประการ อะไรบ้าง?
10. นายจ้างรับแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานกับตน
โดยไม่มีใบอนุญาตทำงาน จะมีความผิดได้รับโทษ ทางแพ่ง ทางอาญา ตาม (พรก.ฉบับที่ 2/2561 ที่แก้ไขใหม่) อย่างไร?
11. ต่างด้าวทำงานกับนายจ้าง
โดยไม่มีใบอนุญาตทำงาน จะมีความผิดได้รับโทษตาม (พรก.ฉบับที่ 2/2561 ที่แก้ไขใหม่) อย่างไร?
12. แรงงานต่างด้าวสิ้นสภาพจากการเป็นลูกจ้าง
มีกรณีอะไรบ้าง นายจ้างต้องดำเนินการอย่างไร?
13. บริษัทที่นำแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานในราชอาณาจักร
มีบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบต่อผู้ว่าจ้าง อย่างไร?
14. ผู้ที่ประกอบธุรกิจนำแรงงานต่างด้าวมาทำงานในราชอาณาจักร
โดยไม่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียน จะมีความผิดได้รับโทษ ทางแพ่ง ทางอาญา อย่างไร?
15. หน่วยงานภาครัฐเข้าตรวจสอบต่างด้าว
ไม่มีเอกสารใดๆ ติดตัว จะมีความผิดอย่างไร
16. การนำแรงงานต่างด้าวระดับฝีมือ/ชำนาญการ
เข้ามาทำงานกับนายจ้าง มี 6 ขั้นตอน
มีอะไรบ้าง?
17. รายละเอียดการบริหาร
การจ้างแรงงานฝีมืชำนาญการ มี 5 ประการ มีอะไรบ้าง?
18. การกำหนดออกใบอนุญาตทำงาน
พิจารณาตามเงื่อนไขอะไร?
19. จ้างแรงงานต่างด้าวที่ผ่านบริษัท
เอ้าซอร์ต ที่มาจากระบบ MOU ระบบพิสูจน์สัญชาติ
นายจ้างทำได้หรือไม่
20. กฎหมายประกันสังคมคุ้มครองแรงงานต่างด้าว 7 กรณี มีอะไรบ้าง
21. กฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับแก้ไขใหม่
เพิ่มสิทธิ์ให้กับลูกจ้างทั่วประเทศ กำลังจะประกาศใช้ มีกรณีใดบ้าง?
22. นายจ้างกำหนดค่าจ่าง
/ ค่าสวัสดิการ ให้ต่างจากแรงงานไทยทำได้หรือไม่?
23. แรงงานต่างด้าวมาทำงานสาย
เป็นอาจิน ลากิจก็มาก ลาป่วยเป็นที่ 1 ของแผนก นายจ้างจะเลิกจ้างต้องดำเนินการอย่างไร?
24. ลูกจ้างต่างด้าวไม่ผ่านทดลองงานต้องบอกกล่าว
และต้องต้องดำเนินการอย่างไร?
25. ลูกจ้างทำผิดวินัยไม่ยอมลงลายมือชื่อในหนังสือเตือน
ผจ.บุคคลต้องดำเนินการอย่างไร?
26. ลูกจ้างต่างด้าวเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน
หรือเป็นกรรมการสหภาพแรงงาน ได้หรือไม่?
27. ต่างด้าวใช้สถานที่ทำงานของนายจ้าง
แสวงหาผลประโยชน์ให้กับตน ผู้จัดการบุคคลต้องดำเนินการอย่างไร?
28. นายจ้างนำหน่วยงานภาครัฐเข้าตรวจฉี่พนักงานเพื่อหาสารเสพติด
พบลูกจ้างมีสารเสพติด 2 คน
นายจ้างเลิกจ้างได้หรือไม่?
29. ต่างด้าวชุมนุมในเวลาทำงาน
เพื่อกดดันนายจ้าง การจ่ายโบนัสประจำปี ผจ.บุคคลต้องใช้เทคนิคแก้ปัญหาอย่างไร?
30. นายจ้างจัดงานเลี้ยงให้กับพนักงานที่ร้านอาหาร
งานเลี้ยงปีใหม่ ลูกจ้างต่างด้าวกับลูกจ้างไทยชกต่อยกัน
นายจ้างจะเลิกจ้างได้หรือไม่
31. จ้างแรงงานต่างด้าว
จะเกิดผลดี ผลเสีย อย่างไร?
32. การกระทำอันไม่เป็นธรรม
คือการปฏิบัติต่อลูกจ้างต่างด้าวอย่างไร?
33. การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
คือการเลิกจ้างลูกจ้าง อย่างไร?
34. ลูกจ้างต่างด้าวถูกเลิกจ้าง
ไม่ได้รับความเป็นธรรม เข้าร้องทุกข์ต่อสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเขตพื้นที่
หรือฟ้องศาลแรงานได้หรือไม่?
35. คำพิพากษา 70 คดี ที่ตัดสินคดีแรงงาน ที่ผู้บริหารงานบุคคลควรรู้
มีกรณีใดบ้าง?
ถาม - ตอบ - แนะนำ
วิทยากร อาจารย์สมบัติ น้อยหว้า
ผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลาง
ประวัติการทำงาน / ประสบการณ์
· เป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลาง 8 ปี
· เป็นผู้ประนอมคดีในชั้นศาลแรงงานกลาง
· เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน
จดทะเบียนที่กระทรวงแรงงาน
· เป็นกรรมการ (บอร์ด)
ค่าจ้างขั้นต่ำที่กระทรวงแรงงาน
· เป็นอนุกรรมการประกันสังคม สำนักงานใหญ่
จ.นนทบุรี
· เป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคล บริษัท ดับบลิว เอส เอส
กรุ๊ป ประเทศไทย จำกัด
· เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษกฎหมายแรงงาน /
กฎหมายประกันสังคม
· เป็นวิทยากรบรรยาย
การป้องกันและส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน
สถานที่อบรม: โรงแรมอะไรซ์ สุขุมวิท 26
ฟรีเอกสารประกอบการอบรม อาหารว่าง 2 มื้อ และอาหารกลางวัน
ราคาเพียงท่านละ 3,900บาท
ราคาสุดพิเศษอย่างยิ่ง
ลงทะเบียน 2ท่าน ท่านละ3,500บาท
ลงทะเบียน 3ท่าน ท่านละ3,000บาท
ลงทะเบียน 4ท่าน ขึ้นไปท่านละ2,900บาท
ราคาดังกล่าว ฟรี
1)เอกสารประกอบการสัมมนา (เข้าเล่ม)
2)ใบประกาศผ่านการอบรม
3)อาหารเบรก2มื้อ อาหารกลางวันบุฟเฟ่ต์โรงแรม รับกระเป๋าผ้าสมุดปากกา หน้างาน
ติดต่อสอบถามจัดหลักสูตร IN HOUSE & PUBLIC TRAINING
ติดต่อEmail: [email protected]
Tel: 098-820-9929คุณกุ้ง
LINE ID : @TESSTRAINING
FACEBOOK : TESSTRAININGPAGE
http://www.tesstraining.com
รวมประกาศฝึกอบรม
หากสนใจหลักสูตรนี้เป็น In house training สอบถามใบเสนอราคาได้ที่[email protected]
คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม
หัวหน้างาน HR ผู้ที่สนใจอบรมทั่วไป
วิทยากร อาจารย์สมบัติ น้อยหว้า
ผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลาง
ประวัติการทำงาน / ประสบการณ์
· เป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลาง 8 ปี
· เป็นผู้ประนอมคดีในชั้นศาลแรงงานกลาง
· เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน
จดทะเบียนที่กระทรวงแรงงาน
· เป็นกรรมการ (บอร์ด)
ค่าจ้างขั้นต่ำที่กระทรวงแรงงาน
· เป็นอนุกรรมการประกันสังคม สำนักงานใหญ่
จ.นนทบุรี
· เป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคล บริษัท ดับบลิว เอส เอส
กรุ๊ป ประเทศไทย จำกัด
· เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษกฎหมายแรงงาน /
กฎหมายประกันสังคม
· เป็นวิทยากรบรรยาย
การป้องกันและส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน