วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจระบบเอกสารสารสนเทศ และสามารถจัดทำและการควบคุมเอกสารของแต่ละระบบได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ทั้งการกำหนดประเภทเอกสาร การกำหนดรูปแบบและภาษาที่ใช้ในเอกสาร การกำหนดรหัสเอกสาร การขอออกเอกสารใหม่ การแก้ไขเปลี่ยนแปลง การยกเลิกเอกสารในระบบ การจัดทำบัญชีรายชื่อเอกสารในระบบ การชี้บ่งความทันสมัยของเอกสาร การกำหนดผู้รับผิดชอบในการจัดทำ การทบทวนและการอนุมัติเอกสารแต่ละประเภท เพื่อให้เกิดความพร้อมของเอกสารที่จำเป็นต้องมีในแต่ละกระบวนการอย่างถูกต้องครบถ้วน
2. เพื่อให้สามารถควบคุมเอกสารในระบบ ทั้งการเข้าถึง การค้นหา การจัดเก็บ การแจกจ่าย การใช้งาน การสำรองข้อมูล การขออนุมัติทำลายเอกสารแต่ละประเภทได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงาน สามารถบันทึก วิเคราะห์ ประเมินผลและสอบกลับได้
3. เพื่อให้บุคลากรในองค์กรสามารถจัดทำและควบคุมเอกสารสารสนเทศของแต่ละระบบได้ในคราวเดียวกัน ทำให้เกิดประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในการบริหารจัดการอย่างถูกต้องครบถ้วนและเป็นการเตรียมพร้อมในการตรวจติดตามภายใน และตรวจประเมินจาก Certify อีกด้วย
เนื้อหาหลักสูตร:
บทที่ 1 : ระบบการบริหารจัดการตามมาตรฐานสากล International Organization for Standardization
· ความเป็นมา ประเภท และ Time Line ของระบบการบริหารจัดการตามมาตรฐานสากล
· ข้อกำหนดระบบการบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015
. กฎหมาย ข้อกำหนดของลูกค้าหรือข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 : ระบบเอกสารสารสนเทศ Documented Information สำหรับ ISO ทุกระบบ
· ความสำคัญ และความจำเป็นของระบบเอกสารสารสนเทศ Documented Information
· ประเภทของเอกสารสารสนเทศในระบบการบริหารจัดการสำหรับ ISO แต่ละระบบ
· หลักเกณฑ์ในการกำหนดรูปแบบ ภาษา รหัสเอกสารในระบบเอกสารสารสนเทศที่เหมาะสม
· การกำหนดผู้รับผิดชอบในการจัดทำ การทบทวน และการอนุมัติเอกสารแต่ละประเภท
บทที่ 3 : การจัดทำคู่มือคุณภาพ คู่มือสิ่งแวดล้อม และคู่มือระบบบริหารจัดการสำหรับ ISO ทุกระบบ
· ความหมายและความสำคัญของคู่มือการบริหารจัดการ Manual สำหรับ ISO
· องค์ประกอบสำคัญที่ต้องมีในคู่มือการบริหารจัดการ Manual สำหรับ ISO
· รูปแบบการเขียนคู่มือการบริหารจัดการ Manual สำหรับ ISO
· ตัวอย่างในการจัดทำคู่มือการบริหารจัดการ สำหรับ ISO
· ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำคู่มือการบริหารจัดการ Manual สำหรับ ISO
· เคล็ดลับสำคัญของการจัดทำคู่มือการบริหารจัดการ Manual สำหรับ ISO ที่ดี
บทที่ 4 : การจัดทำระเบียบปฏิบัติงาน Procedure สำหรับ ISO ทุกระบบ
· ความหมายและความสำคัญของระเบียบปฏิบัติงาน Procedure
· องค์ประกอบสำคัญของการเขียนระเบียบปฏิบัติงาน Procedure
· รูปแบบการเขียนระเบียบปฏิบัติงาน Procedure
· ตัวอย่างของการเขียนระเบียบปฏิบัติงาน Procedure ที่ถูกต้อง
· ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการเขียน ทบทวน และอนุมัติ Procedure ที่เหมาะสม
· สรุปความเหมือนและความแตกต่างของระเบียบปฏิบัติงาน Procedure ของ ISO แต่ละระบบ
· เคล็ดลับสำคัญของการเขียนระเบียบปฏิบัติงาน Procedure ที่ดี
บทที่ 5 : การจัดทำวิธีปฏิบัติงาน - ขั้นตอนปฏิบัติงาน Work Instruction - WI สำหรับ ISO ทุกระบบ
· ความหมายและความสำคัญของวิธีปฏิบัติงาน (ขั้นตอนปฏิบัติงาน) Work Instruction
· องค์ประกอบสำคัญของการเขียนวิธีปฏิบัติงาน (ขั้นตอนปฏิบัติงาน) Work Instruction
· รูปแบบการเขียนวิธีปฏิบัติงาน (ขั้นตอนปฏิบัติงาน) Work Instruction
· ตัวอย่างของการเขียนวิธีปฏิบัติงาน (ขั้นตอนปฏิบัติงาน) Work Instruction ที่ถูกต้อง
· ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการเขียน ทบทวน อนุมัติวิธีปฏิบัติงาน Work Instruction ที่เหมาะสม
· สรุปความเหมือนและความแตกต่างของวิธีปฏิบัติงาน Work Instruction ของ ISO แต่ละระบบ
· เคล็ดลับสำคัญของการเขียนวิธีปฏิบัติงาน (ขั้นตอนปฏิบัติงาน) Work Instruction ที่ดี
บทที่ 6 : การจัดทำแบบฟอร์ม Form และบันทึก Record สำหรับ ISO ทุกระบบ
· ความหมายและความสำคัญของแบบฟอร์ม Form
· องค์ประกอบสำคัญของการกำหนดแบบฟอร์ม Form
· รูปแบบการกำหนดแบบฟอร์ม Form ที่ดี
· ตัวอย่างของการกำหนดแบบฟอร์ม Form ที่ถูกต้องสำหรับ ISO
· ความหมายและความสำคัญของบันทึก Record สำหรับ ISO
· ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการกำหนดแบบฟอร์ม Form และบันทึก Record
บทที่ 7 : เอกสารสนับสนุน Support Document สำหรับ ISO
· ความหมายและความสำคัญของเอกสารสนับสนุน Support Document
· ประเภทของเอกสารสนับสนุน Support Document
· ตัวอย่างของเอกสารสนับสนุน Support Document สำหรับ ISO
· เคล็ดลับการควบคุมเอกสารสนับสนุน Support Document อย่างมีประสิทธิภาพ
บทที่ 8 : การควบคุมเอกสาร Document Control อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับ ISO ทุกระบบ
· เทคนิคในการควบคุมเอกสาร Document Control
· เทคนิคการจัดทำบัญชีรายชื่อเอกสาร Master List สำหรับ ISO
· ตัวอย่างของการจัดทำบัญชีรายชื่อเอกสาร Master List ที่ถูกต้อง
· เทคนิคการจัดทำบัญชีรายชื่อผู้ครอบครองเอกสารในระบบ Holder List ที่ดี
· เทคนิคในการ Update เอกสารสารสนเทศในระบบอย่างมีประสิทธิภาพ
บทที่ 9 : เทคนิคการออกเอกสารใหม่ การแก้ไขเปลี่ยนแปลง และการยกเลิกเอกสารโดยใช้ใบ DAR
· ความหมายและความสำคัญของใบ DAR
· ขั้นตอน เงื่อนไขและผลลัพธ์ในการใช้ใบ DAR
· ตัวอย่างการเขียนใบ DAR ที่ถูกต้อง
บทที่ 10 : เทคนิคการกำหนดตารางควบคุมเอกสาร สำหรับ ISO ทุกระบบ
· ความหมายและประโยชน์ของตารางควบคุมเอกสาร
· เทคนิคในการกำหนดตารางควบคุมเอกสารสำหรับ ISO
· ตัวอย่างตารางควบคุมเอกสารของระบบการบริหารที่ถูกต้อง เหมาะสม
บทที่ 11 : เทคนิคการขอทำลายเอกสารสารสนเทศ สำหรับ ISO ทุกระบบ
· สาเหตุที่ต้องมีการขออนุมัติทำลายเอกสารสารสนเทศในองค์กร
· ประเภทของเอกสารสารสนเทศที่มีการขออนุมัติทำลาย
· ขั้นตอนในการขอทำลายเอกสารสารสนเทศในองค์กร
· แนวทางปฏิบัติจริงในการขอทำลายเอกสารสารสนเทศ
· ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไขในการขอทำลายเอกสารสารสนเทศ
บทที่ 12 : เทคนิคการควบคุมเอกสารด้วยระบบอิเล็คทรอนิกส์ สำหรับ ISO ทุกระบบ
· ประเภทเอกสารสารสนเทศในระบบอิเล็คทรอนิกส์
· การจัดทำและการควบคุมเอกสารในระบบอิเล็คทรอนิกส์อย่างมีประสิทธิภาพ
· การกำหนดผู้รับผิดชอบในการจัดทำ และควบคุมเอกสารในระบบอิเล็คทรอนิกส์
· ตัวอย่างของการควบคุมเอกสารสารสนเทศในระบบอิเล็คทรอนิกส์
Workshop : แบ่งกลุ่มย่อยเป็นทีมในการระดมสมอง เพื่อส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจในการจัดทำและควบคุมเอกสารสารสนเทศ สำหรับ ISO ทุกระบบ อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการฝึกอบรม
· บรรยายเนื้อหา
หลักทฤษฎี อธิบายตัวอย่างประกอบ
· Workshop เพื่อให้เกิดความเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
· Pre-test, Post-test
หลักสูตรนี้เหมาะกับ
1. DCC - Document Control Center เจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสาร และDCC แต่ละแผนก
2. QMR - EMR - MR ตัวแทนฝ่ายบริหารของแต่ละระบบการบริหารจัดการ
3. Management Team & Working Party คณะกรรมการและคณะทำงานระบบการบริหารจัดการ
4. Supervisor, Foreman, Leader หัวหน้างาน หัวหน้าแผนก ของแต่ละแผนก
5. Internal Auditors ผู้ตรวจติดตามภายในสำหรับ ISO ทุกระบบ
สถานที่ @ โรงแรม แรมแบรนดท์ สุขุมวิท สุขุมวิท ซอย 18 ใกล้ BTS อโศก กรุงเทพฯ ** สถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง
19 กันยายน 2567 09.00-16.00 น.
ดีทีเอ็นเทรนนิ่ง
เบอร์ติดต่อ : 096-669-5554 ,064-325-4946
3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)