หลักสูตรสร้างวิทยากรมืออาชีพนี้ เป็นหลักสูตรในการสร้างวิทยากรในองค์กร ให้สามารถถ่ายทอดงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการทำงานโดนเน้นหลักการในการนำเสนอ และศิลปะการพูดต่อหน้าชุมชน จนถึงการพัฒนาบุคลิกภาพในระหว่างการพูด และเทคนิคการเขียนหลักสูตร จนสามารถก่อให้เกิดผลสำเร็จ ในการพูดแต่ละครั้ง โดยเน้นการให้ความรู้ ตัวอย่าง และการปฏิบัติจริงของผู้เข้าร่วมเข้าร่วมรับการอบรม
เข้าใจปัญหา ก่อนลงสนาม แล้วคุณละเป็นผู้นำแบบไหน?
Mindse Presentation Skill (ทักษะในการนําเสนองาน) • จัดเตรียมเอกสาร และสื่อต่าง ๆ ให้พร้อมทุกครั้งก่อนนําเสนองาน • อธิบายและยกตัวอย่างประสบการณ์ที่บรรลุผลสําเร็จ (Best Practice)ให้ผู้ฟังเข้าใจและเห็นภาพได้อย่างชัดเจน • ตอบข้อซักถามจากผู้ฟังได้ตรงประเด็น ชัดเจน และถูกต้อง • ตั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของผู้เข้าอบรม • กระตุ้นจูงใจให้ผู้เข้าอบรม มีส่วนร่วมในระหว่างการนําเสนองาน
วัตถุประสงค์
· เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานในการเป็นวิทยากร
· ผู้เข้าอบรมได้ฝึกการพูดหน้าชุมชน และสร้างบุคลิกภาพในการพูดให้มีประสิทธิภาพ
· ผู้เข้าอบรม สามารถนำความรู้ความเข้าใจมาปฏิบัติงานได้จริง อย่างมีประสิทธิภาพ
· ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการและคุณสมบัติของผู้สอนงานที่ดี
· ผู้เข้าอบรมเข้าใจองค์ประกอบสำคัญของการสอนงานและการนำเสนอที่มีประสิทธิภาพ
· ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้เครื่องมือและวิธีในการพัฒนาบุคลากรอย่างเหมาะสม
· ผู้เข้าอบรมสามารถพัฒนาทักษะการสอนงานที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
· เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถสร้างจุดเด่นในด้านบริการเพื่อตอบสนองความต้องการได้ตรงใจ
หัวข้อเนื้อหา
Day 1 |
ความสำคัญและหน้าที่ของการเป็นผู้ฝึกสอนTrainer สิ่งสำคัญ การพัฒนาบุคลากรที่องค์กรต้องการ หลักการของการเป็นวิทยากรที่ดี วิทยากรเบื้องต้นสู่ความเป็นมืออาชีพในการนำเสนอ การเตรียมความพร้อมสู่การถ่ายทอด 4ข้อของการเตรียมความพร้อมก่อนการขึ้นบรรยาย การเตรียมใจสู่การบรรยาย การเผชิญสถานการณ์ที่ไม่คาดฝัน พักเบรก หลักของการนำเสนอ การเตรียมข้อมูลในการบรรยายและประสบการณ์เชิงถ่ายทอด การวางแผนหลักสูตรการสอนให้เข้าใจง่าย เทคนิคการเปิดใจให้ทุกคนพร้อมเรียนรู้ด้วยการกำหนดกิจกรรม ศิลปะการสื่อสารอย่างได้ผล เทคนิคการเรียกร้องความสนใจจากผู้ฟัง พูดดี หรือ พูดไม่ดีอะไรเป็นตัววัด สิ่งที่ไม่ควรทำในขณะพูด การใช้น้ำเสียงในแต่ละสถานการณ์ พักเบรกรับประทานอาหารกลางวัน |
· การนำเสนอที่ดีและเป็นมืออาชีพ
· การลดระยะห่างของผู้ฝึกสอนและผู้รับการฝึกสอน
· หัวใจสำคัญของการฝึกอบรมในแต่ละกระบวนการ
· การพัฒนาความเข้าใจตนเองไปสู่การเป็นผู้ฝึกสอนที่ดี
การวางรูปแบบการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากร การทำความเข้าใจถึงความต้องการของผู้รับการฝึกสอน การวิเคราะห์แนวทางการตอบสนองกับผู้รับการฝึกสอน การเปรียบเทียบแนวทางการฝึกสอนแบบเก่าและการฝึกสอนแบบใหม่พักเบรก Workshopการฝึกยกระดับความเข้าใจในการเป็นผู้ฝึกสอนที่ดี เพื่อเป็นการพัฒนาแนวทางความเข้าใจของตนเองให้พร้อมสำหรับการพัฒนาบุคลากร เทคนิคการสร้างความเข้าใจ3รูปแบบ ทดสอบประเมินผลรายบุคคล |
สรุปการบรรยาย
Day 2 |
ปัญหาใหญ่กับการพัฒนาบุคลากรไม่เป็นผลสำเร็จ การแบ่งประเภทผู้รับการฝึกสอนให้สอดคล้องและเหมาะสมกับแนวทางการฝึกสอน บทบาทการฝึกสอนที่เหมาะสมกับแต่ละระดับ การวางแผนการปรับตัวให้เหมาะสมกับผู้รับการฝึกสอนแต่ละระดับ Workshopการวางแผนรูปแบบฝึกสอนแต่ละระดับให้มีความเหมาะสมเห็นผลลัพธ์ พักเบรก การเตรียมความพร้อมสู่การถ่ายทอดที่ทรงพลังและน่าสนใจ 4องค์ประกอบสำคัญของความเหมาะสมในการฝึกสอน (เวลา บรรยากาศ เครื่องมือ เทคนิค) การรับรู้และขั้นตอนของการจดจำที่ผู้ฝึกสอนต้องเข้าใจ การจัดลำดับการย่อยเพื่อให้จำได้ง่ายและวัดผลได้ พักเบรกรับประทานอาหารกลางวัน การออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในการถ่ายทอดและการสร้างความเข้าใจ 4เครื่องมือสำคัญในการถ่ายทอดความเข้าใจ การออกแบบเพื่อให้ข้อมูลสำคัญเข้าสู่ผู้รับการฝึกสอนอย่างมีประสิทธิภาพ การเตรียมสื่อต่างๆ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกสอน Workshopการวางรายละเอียดการบรรยายและการคัดเลือกเครื่องมือให้เกิดการเรียนรู้ และการจดจำ พักเบรก การเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกสอน องค์ประกอบสำคัญของความสำเร็จในการฝึกสอนในแต่แบบ (การแยกกลุ่มเรียนรู้แต่ละแบบเพื่อง่ายต่อการเข้าถึง) การเตรียมตนเองให้พร้อมกับการถ่ายทอดและการติดตามผลลัพธ์ |
บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด
คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม
หัวหน้างาน พนักงาน ผู้ที่สนใจอบรม