Skill Matrix Setting &
Implementation
การจัดทำและปรับใช้Skills Matrixอย่างได้ผล
หัวข้อการเรียนรู้
(1)ทักษะหรือSkillคืออะไร
(2) Skillมีกี่แบบ
(3)ความแตกต่าง
- Skillกับ ความรู้หรือKnowledge
- Skillกับ พฤติกรรมการทำงานหรือAttributes
(4)ระบบISOกำหนดเรื่องCompetencyและSkillsไว้อย่างไร
(5)บทบาทหน้าที่ของHRและหัวหน้างานในการจัดทำSkills Matrix
(6)ตารางทักษะการทำงานหรือSkill Matrixคืออะไร
(7)ชื่อเรียกอื่นของSkill Matrix
(8)ประโยชน์ของการทำตารางทักษะการทำงานหรือ Skill Matrix
-การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร
-การปฐมนิเทศพนักงาน (Orientation)
-การระบุความจำเป็นในการฝึกอบรม (Training Needs)
-การพัฒนาบุคลากรเช่นการสอนงานแบบ OJT
-การบริหารสายอาชีพ (Career Management)หรือการปรับเลื่อนตำแหน่ง เป็นต้น
(9)แนวทางการจัดทำSkill Matrixอย่างง่ายแต่ใช้ได้จริง
-ระบุหน้าที่งานตามใบกำหนดหน้าที่งาน (Job Description)
-วิเคราะห์ผลลัพธ์หลักที่คาดหวังจากหน้าที่งาน (Key Results)
-กำหนดทักษะที่ต้องการจากผลลัพธ์หลักที่คาดหวัง
-ให้ความหมายของทักษะ
-กำหนดระดับของทักษะหรือSkill Level
-กำหนดตัวชี้วัดทักษะ (Skill Indicators)สำหรับการประเมิน
-จัดทำตารางทักษะการทำงานหรือSkill Matrix
(10)ฝึกปฏิบัติการจัดทำข้อมูลทักษะ Skillตามหน้าที่งานตัวอย่างพร้อมคำแนะนำจากวิทยากร
(11)เราจะประเมินทักษะหรือSkill ได้อย่างไร
(12)ข้อมูลสำหรับการประเมินทักษะและเทคนิคการประเมินทักษะที่นิยมใช้
(13)วิธีให้คะแนนประเมินทักษะแบบเข้าใจง่ายพร้อมแนวทางการประเมิน
(14)ฝึกปฏิบัติออกแบบประเมินทักษะตามตัวอย่าง
(15)สิ่งที่ต้องกำหนดเพื่อให้จัดทำ Skill Matrixได้ผลดี
-กำหนดนโยบายในการจัดทำSkills และนโยบายอื่นที่ชัดเจนเช่น
-นโยบายการทำงานที่ต้องใช้หลายทักษะหรือ Multi-skills
-อบรมและฝึกปฏิบัติให้HRและหน่วยงานจัดทำทักษะให้ถูกต้อง
-กำหนดTemplateของSkills Matrixที่ชัดเจน
-กำหนดและสื่อสารแนวทางการประเมินทักษะให้แก่หัวหน้างาน/พนักงาน
-การเชื่อมโยงทักษะสู่การให้รางวัลและจูงใจ เป็นต้น
(16)สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้และทบทวนการนำไปใช้งานจริงในองค์กร
ทุกหลักสูตรสามารถจัดอบรมแบบ Inhouse training ได้
คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม
เจ้าของธุรกิจขนาด SME , ผู้จัดการและหัวหน้างานฝ่าย HR ผู้จัดการและหัวหน้างานทุกสายงาน HR และผู้ที่สนใจ
ดร.ชัชวาล
อรวงศ์ศุภทัต