Public Training : จิตวิทยาในการทำงาน

5 สิงหาคม 2567

หลักการและเหตุผล

เป้าหมายสูงสุดของการบริหารงานได้แก่ การจัดการให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำงานเพื่อบรรลุตามจุดมุ่งหมาย สูงสุดขององค์กร ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่และภารกิจที่สำคัญที่สุดของผู้บริหารที่จะต้องเรียนรู้ศาสตร์ในการบริหารบุคคล ที่เน้นเรื่องการศึกษาพฤติกรรมบุคคล กลุ่มและองค์การ ตลอดจนปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมในองค์การ เพื่ออธิบาย ทำนายและควบคุมปรากฏการณ์ของการบริหารที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความรู้ความเข้าใจแนวคิดเรื่องแรงจูงใจของบุคคล จะช่วยให้ผู้บริหารรู้ถึงความต้องการและแรงจูงใจของผู้ใต้บังคับบัญชาและพร้อมที่จะสร้างแรงจูงใจในการทำงานเพื่อให้ผู้ใต้บังคับบัญชาดังกล่าว ทำงานอย่างที่เรียกว่า "งานก็ได้ผล คนก็เป็นสุข" ที่ถือว่าเป็นองค์ประกอบสำคัญของความสำเร็จในการบริหารงาน

 

วัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม

1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมตระหนักและเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง และเตรียมพร้อมที่จะเป็นพนักงานที่องค์กรต้องการ

2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองเกิดความรักความผูกพันองค์กร รู้สึกเป็นเจ้าขององค์กรร่วมกัน

3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงความสำคัญ และความจำเป็นในการสร้างแรงจูงใจเพื่อการทำงานที่มีความสุขและประสบความสำเร็จ

4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถสร้างแรงบันดาลใจและแรงจูงใจให้กับตนเองในการทำงานและการก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นใจและพร้อมที่จะปรับปรุงพัฒนาตนเองอยู่เสมอ

5. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเรียนรู้ข้อเด่น ข้อด้อยของตนเอง และสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมในการทำงาน การใช้ชีวิต ให้มีประสิทธิภาพและมีความสุข

6. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถดึงศักยภาพของตนเองออกมาใช้ให้เต็มที่เต็มพลัง และสามารถปรับประยุกต์ใช้ในการทำงานได้อย่างสร้างสรรค์

 

หัวข้อการฝึกอบรม

1. ความหมายของจิตวิทยา

·       องค์ประกอบที่สำคัญของจิตวิทยาในการทำงานของพนักงาน

·       ปัจจัยหรือองค์ประกอบที่ทำให้เกิดแรงจูงใจ

·       บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของพนักงาน

·       การจูงใจ หรือแรงจูงใจ คืออะไร

·       ทฤษฎีการจูงใจTheories of Motivation

- ทฤษฎีการจูงใจ ของMaslow

- ทฤษฎีสองปัจจัย ของHerzberg

- ทฤษฎีXทฤษฎีY ของMcgregor

·       เทคนิคการสร้างแรงจูงใจให้ตนเองและผู้อื่น (D-R-I-V-E)

-D = Develop yourself & othersการพัฒนาตนเองและผู้อื่น

-R = Relationshipการสร้างสัมพันธภาพที่ดีในการทำงาน

-I = Individual Motivationการสร้างแรงจูงใจของปัจเจกบุคคล

-V = Verbal Communicationความสามารถในการสื่อสาร

-E = Engagementความผูกพันต่อองค์กร จิตสำนึกรักองค์กร

2. การสร้างขวัญแรงจูงใจ และวินัย ในสถานประกอบการ

·       วินัย และคุณธรรมในการทำงาน

·       ทัศนคติสำหรับพนักงาน (Employee Attitude)

·       การสร้างทัศนคติที่ดี (Attitude)ในการทำงาน

3. จิตสำนึกในการทำงาน (Work Awareness)และจงรักภักดีต่อองค์กร

Workshop:ระดมความคิดสร้างองค์กรในฝัน

4. หลักในการทำงานและดำเนินชีวิตให้ประสบผลสำเร็จและมีความสุข

·       ความสำเร็จในการงาน และชีวิต

·       องค์ประกอบของความสำเร็จในชีวิตการงาน

·       ความปรารถนาของนายจ้างจากลูกจ้าง

·       เคล็ดลับดีๆในการเปลี่ยนแปลงตัวเอง (รักษาโรคเบื่องาน)

·       วิธีทำงานอย่างมีความสุข

·       สร้างและมีมนุษย์สัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน

·       การสำรวจตัวเอง เพื่อดึงศักยภาพออกมาใช้ให้เต็มที่เต็มพลัง

- เทคนิคการส่งเสริมให้ใช้จินตนาการตนเอง

- การสร้างแรงจูงใจด้วยตัวคุณเอง

- วิธีการสร้างแนวคิดใหม่

- เทคนิคการสร้างแรงบันดาลใจในการทำงาน

- เทคนิคการคิดและทำเพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

- สัญญาณอันตราย! และตัวชี้วัดความสำเร็จ

Workshop:กิจกรรมกลุ่มทำงานอย่างไรให้มีสุข

 

ระยะเวลาฝึกอบรม :  หลักสูตร 1 วัน (6 ชั่วโมง)

 

รูปแบบหลักสูตร

1.การบรรยาย                                        30 %

2.เกมส์ / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติWorkshop   70%

 

อาจารย์อานุภาพ  พันชำนาญ

 

โรงแรมRembrandt Hotel Bangkokสุขุมวิท 18-20

 

บุคคลทั่วไป ท่านละ4,000 บาท

สมาชิก / โอนเงินก่อน1 สัปดาห์ ท่านละ3,700 บาท

ลงทะเบียน3 ท่านขึ้นไป ท่านละ3,400 บาท

ลงทะเบียน5 ท่านขึ้นไป ท่านละ3,000 บาท

**ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม7%**

 

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่

 

ลงทะเบียน Online คลิ๊ก !!


บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด

เลขที่ 98/83 หมู่ที่ 4ตำบลบึงยี่โถ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี12130

www.knctrainingcenter.com

[email protected]
โทร. :02-157-9083,062-315-5283

สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมแรมแบรนด์ สุขุมวิทซอย 18-20

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

5 สิงหาคม 2567 09.00-16.00

จัดโดย

บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 0623155283,021579083

ค่าธรรมเนียม (FEE)

4000 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 102 ครั้ง