Public Training : การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินค้าคงคลังและคลังสินค้า

29 มีนาคม 2568

หลักการและเหตุผล

ในการบริหารงานด้านโลจิสติกส์ ประเด็นหนึ่งที่สำคัญที่ต้องพิจารณา คือ สินค้าคงคลัง (Inventory)บางครั้งเรียกว่าพัสดุคงคลัง หรือ สต๊อก หมายถึงสิ่งของที่จัดเก็บไว้ในคลังสินค้า (Warehouse)ซึ่งเรื่องการจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management)เป็นศาสตร์วิชาที่ว่าด้วยการบริหารของที่อยู่ในคลัง ให้เหมาะสม มีต้นทุนที่เหมาะสม มีปริมาณที่เหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป เป็นไม่ง่ายนัก หากจะทำให้ผู้ที่ไม่เคยเรียน เข้าใจเรื่องการจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management)ให้เข้าใจได้ภายใน1 วัน เนื่องจากเนื้อหาส่วนใหญ่เป็นเนื้อหาด้านการคำนวณ ต้องใช้ระยะเวลาในการศึกษา ทำความเข้าใจ แต่หลักสูตรนี้ พยายามเน้นสอนวิชาการบริหารสินค้าคงคลัง ในแบบฉบับที่ผู้เข้ารับการอบรมทุกระดับเข้าใจได้ง่าย ไม่ใช่บรรยายเพียงทฤษฎี แต่เป็นการบรรยายทฤษฎีก่อนแล้วค่อยแปลงทฤษฎีที่ยาก สรุปรวบยอดให้เข้าใจง่ายขึ้น มีการยกตัวอย่าง การนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง จากวิทยากรที่มีประสบการณ์ในการทำงานจริงทั้งในระดับปฏิบัติการถึงระดับบริหาร

 

วัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม

Ø เพื่อสามารถบริหารจัดการคลังสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถควบคุมและเพิ่มความรวดเร็วในการการทำกิจกรรมต่างๆ ภายในคลังสินค้า

Øเพื่อลดต้นทุนและพื้นที่การจัดการปริมาณสินค้าคงคลังจำนวนมาก

Øเพื่อสามารถจัดเก็บสินค้าหรือวัตถุดิบได้อย่างเหมาะสมตามปริมาณที่ลูกค้าต้องการ

Ø เพื่อสามารถทราบข้อมูลสินค้าคงคลังได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และครบถ้วน เพื่อนำไปวิเคราะห์และพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง

Ø เพื่อเพิ่มรอบการหมุนเวียนของสินค้าคงคลังได้มากขึ้น สามารถจัดเก็บสินค้าได้มากขึ้นโดยไม่ต้องเพิ่มพื้นที่คลังสินค้า

 

หัวข้อการฝึกอบรม

·       ความสำคัญของคลังสินค้า การบริหารจัดการ และการปฏิบัติงาน

·       หน่วยงานภายในองค์กรที่เกี่ยวข้องและเอกสารต่างๆ

·       การจัดผัง และวางLayout Locationที่ใช้ในการเก็บสินค้าภายในคลัง

·       ขั้นตอน และกระบวนการในการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานในคลังสินค้าและการจัดระบบ

·       การควบคุมสินค้าด้วยระบบ Stock Card / BIN CARD /โปรแกรมสำเร็จรูป/ ระบบคอมพิวเตอร์

·       ลักษณะการจัดเก็บสินค้า และการกำหนดLocationเพื่อการจัดเก็บในแต่ละประเภท

o  จัดเก็บFIFO/ FEFO / LIFO / ABC

o  จัดเก็บตามกลุ่มสินค้า

o  จัดเก็บแบบFix Location ,แบบไม่Fix location

o  จัดเก็บแบบตามลักษณะของสินค้า

o  จัดเก็บสินค้าอันตราย

·      การโอนย้ายสินค้าภายในคลังสินค้าเพื่อให้ตรงกับ Location

·      วิธีการบริหารจัดการสินค้าภายในคลังแต่ละประเภท และการจัดทำรายงานการติดตาม

o  สินค้าเคลม สินค้าชำรุด สินค้าขายฝาก สินค้าขายซาก สินค้ารับคืน ใบยืมสินค้ามีอายุการจัดเก็บสินค้าอันตราย สินค้ารอการตรวจสอบ

·      รูปแบบการจัดทำ Cycle Count (นับย่อย) และการตรวจนับสินค้า

·      การจัดทำป้ายบ่งชี้สินค้าแต่ละประเภทเพื่อให้ตรงตามระบบ ISO

·      รูปแบบการจัดทำรายงานสินค้าที่ไม่มีการเคลื่อนไหว / เคลื่อนไหวช้า

·      การดูแลรักษาผลิตภัณฑ์ตามระบบ ISOและการจัดทำKPI  เพื่อวัดผลประสิทธิภาพของการทำงานในแต่ละกระบวนการขั้นตอน

·      ความสำคัญ และบทบาทหน้าที่ของการเป็นหัวหน้าคลังสินค้า

·      การสื่อสาร การประสานงานกับผู้ใต้บังคับบัญชา

·      ทราบถึงวิธีการบริหารความขัดแย้งภายใน และภายนอกหน่วยงาน

·      ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

·      ปรับปรุงกระบวนการทำงานภายในคลังสินค้า

·      ฟอร์มและเอกสารต่างๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติงานในคลังสินค้า

·      ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข

 

วิธีการฝึกอบรม

การอบรมสัมมนาเน้นข้อมูลที่สามารถนำไปใช้งานได้จริงรวมถึงwork shopพร้อมตัวอย่างKPIแบบฟอร์มเอกสาร และรายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคลังสินค้า สามารถนำไปประยุคใช้งานได้จริง

 

อาจารย์นนทพัฒน์ โพธี

 

โรงแรมเมอเวนพิค สุขุมวิท15 กรุงเทพฯ

 

บุคคลทั่วไป ท่านละ4,000 บาท

สมาชิก / โอนเงินก่อน1 สัปดาห์ ท่านละ3,700 บาท

ลงทะเบียน3 ท่านขึ้นไป ท่านละ3,400 บาท

ลงทะเบียน5 ท่านขึ้นไป ท่านละ3,000 บาท

**ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม7%**

 

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่

 

ลงทะเบียนOnline คลิ๊ก !!


บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด

เลขที่ 98/83 หมู่ที่ 4ตำบลบึงยี่โถ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี12130

www.knctrainingcenter.com

[email protected]
โทร. :02-157-9083,062-315-5283

สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมเมอเวนพิค สุขุมวิท 15 กรุงเทพฯ

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

29 มีนาคม 2568 09.00 - 16.00 น.

จัดโดย

บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 062-3155283, 02-1579083

ค่าธรรมเนียม (FEE)

4000 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 36 ครั้ง