Public Training : เทคนิคการทวงหนี้อย่างมีประสิทธิภาพ (สำหรับลูกหนี้การค้า)

28 ตุลาคม 2567

ในปัจจุบันการทำธุรกิจระหว่างบริษัทแห่งหนึ่ง กับบริษัทอีกแห่งหนึ่ง บางครั้งการขายซื้อสินค้าและบริการมักจะไม่ได้ใช้เงินสดจ่ายในวันรับสินค้าเสมอไปเพราะต้องการยอดขายที่สูงกว่าดังนั้นการอำนวยความสะดวกโดยขายแบบให้เครดิตจำนวนวัน เช่น 30 วัน หรือ 60 วัน จึงมีความจำเป็นต้องให้เครดิตอีกทั้งบริษัทคู่ส่วนมากก็ให้เครดิตเช่นกัน เพื่อการแข่งขันทางธุรกิจที่สามารถแข่งขันได้ แต่บริษัทที่ให้เครดิตก็จะต้องรับความเสี่ยงที่จะต้องติดตามทวงถามยอดหนี้จากลูกหนี้การค้าที่มีการผิดนัดชำระค่าสินค้าและบริการด้วยตนเองดังนั้นจึงทำหลักสูตรนี้มาเพื่อ ให้ความรู้และเทคนิคการเร่งรัดหนี้สินสำหรับลูกหนี้การค้า ที่ถูกกฎหมายและสามารถใช้ได้จริง ๆ ทำให้ลูกหนี้ค้นพบทางออกของปัญหาที่ดี ปลดประวัติเครดิตกับบริษัทคู่ค้า และสามารถดำเนินธุรกิจต่อไปได้ ในขณะเดียวกันเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อ ธุรกิจเร่งรัดหนี้สินให้ดียิ่งขึ้น ส่งผลดีต่อผู้ขายสินค้าสามารถเก็บเงินจากลูกหนี้การค้าได้ทำให้ธุรกิจลดความเสี่ยงทางการเงินได้อีกด้วย

 

วัตถุประสงค์

1. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจการเร่งรัดและติดตามลูกหนี้การค้าและทราบสาเหตุการเกิดหนี้การค้าเกิดขึ้นได้อย่างไร

2. เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจวัตถุประสงค์หลักของการให้เครดิตแก่ลูกหนี้การค้า

3. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจเครื่องมือที่ช่วยให้เราบริหารลูกหนี้การค้าและติดตามทวงถามหนี้ให้มีประสิทธิภาพ

4. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจการจัดทำตารางอายุลูกหนี้ (Aging Schedules of accounts receivable)

5. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจการจัดชั้นลูกหนี้ และการกำหนดนโยบายเร่งรัดและติดตามหนี้

6. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจตัวอย่างนโยบายการติดตามเร่งรัดลูกหนี้การค้าที่กิจการกำหนดโดยทั่วไป

7. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจกรณีลูกหนี้มีการจ่ายเช็คล่วงหน้า

8. เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจแนวปฏิบัติในการติดตามทวงถามหนี้และกฎหมายทวงหนี้ที่ต้องรู้

9. เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจกรณีศึกษาสิทธิการเรียกร้องและแนววินิจฉัยกรณีลูกหนี้การค้า

10. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจคุณสมบัติและดีเอ็นเอพนักงานเร่งรัดหนี้สินที่ประสบความสำเร็จ

11. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจทฤษฎีการเร่งรัดหนี้สินแบบSANDWICHสำหรับลูกหนี้การค้า

12. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจผลของการเป็นหนี้

13. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้และความเข้าใจการใช้ทฤษฎีของ มาสโลว์ในการเร่งรัดหนี้สิน

14. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้และความเข้าใจการบริหารกิจกรรมเร่งรัดหนี้สิน

15. ผู้เข้าอบรมจะมีความรู้และความเข้าใจการสะกดรอยตามลูกหนี้

 

หัวข้อการอบรม

1. การเร่งรัดและติดตามลูกหนี้การค้าและทราบสาเหตุการเกิดหนี้การค้าเกิดขึ้นได้อย่างไร

2. หลักของการให้เครดิตแก่ลูกหนี้การค้า

3. เครื่องมือที่ช่วยให้เราบริหารลูกหนี้การค้าและติดตามทวงถามหนี้ให้มีประสิทธิภาพ

4. การจัดทำตารางอายุลูกหนี้ (Aging Schedules of accounts receivable)

5. การจัดชั้นลูกหนี้ และการกำหนดนโยบายเร่งรัดและติดตามหนี้

6. ตัวอย่างนโยบายการติดตามเร่งรัดลูกหนี้การค้าที่กิจการกำหนดโดยทั่วไป

7. กรณีลูกหนี้มีการจ่ายเช็คล่วงหน้า

8. แนวปฏิบัติในการติดตามทวงถามหนี้และกฎหมายทวงหนี้ที่ต้องรู้

9. กรณีศึกษาสิทธิการเรียกร้องและแนววินิจฉัยกรณีลูกหนี้การค้า

10. คุณสมบัติและดีเอ็นเอพนักงานเร่งรัดหนี้สินที่ประสบความสำเร็จ

11. ทฤษฎีการเร่งรัดหนี้สินแบบSANDWICHสำหรับลูกหนี้การค้า

12. ผลของการเป็นหนี้

13. การใช้ทฤษฎีของ มาสโลว์ ในการเร่งรัดหนี้สิน

14. การบริหารกิจกรรมเร่งรัดหนี้สิน

15. การสะกดรอยตาม

16.Role - Playเร่งรัดหนี้สินแบบ SANDWISH

 

หลักสูตรนี้เหมาะกับใคร?   พนักงานเร่งรัดหนี้สินทุกระดับ

 

วิธีการอบรม  การบรรยาย การทำ Workshopบทเจรจาการขาย การแสดงบทบาทสมมุติ (Role-Play)

 

อาจารย์รัชเดช  อติกนิษฐ

 

โรงแรมเมอเวนพิค สุขุมวิท 15 กรุงเทพฯ

 

บุคคลทั่วไป ท่านละ 4,000 บาท

สมาชิก / โอนเงินก่อน 1 สัปดาห์ ท่านละ 3,700 บาท

ลงทะเบียน 3 ท่านขึ้นไป ท่านละ 3,400 บาท

ลงทะเบียน 5 ท่านขึ้นไป ท่านละ 3,000 บาท

**ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%**

 

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่

 

ลงทะเบียนOnline คลิ๊ก !!


บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด

เลขที่ 98/83 หมู่ที่ 4ตำบลบึงยี่โถ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี12130

www.knctrainingcenter.com

[email protected]
โทร. :02-157-9083,062-315-5283

สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมเมอเวนพิค สุขุมวิท 15 กรุงเทพฯ

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

28 ตุลาคม 2567 09.00-16.00

จัดโดย

บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 0623155283,021579083

ค่าธรรมเนียม (FEE)

4000 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 34 ครั้ง