Performance Appraisal Design/Revision

24 พฤษภาคม 2567

เนื้อหาหลักสูตร

ทำแบบประเมินความรู้ก่อนเรียน (Pre-test)

ความจำเป็นการประเมินผลการปฏิบัติงาน

อภิปรายกลุ่มและระดมสมอง :
 - ปัญหาของการประเมินผลขององค์กรของเรา
 - และไอเดียกับการจัดการปัญหานั้น

บทบาทหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในการประเมินผลการปฏิบัติงาน

เจาะลึกองค์ประกอบที่ “ใช่” ของแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
  เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จของผลงาน (Performance)
 (1) การตั้งเป้าหมายผลงาน
 - เป้าหมายผลงานแบบ KPIs
 - เป้าหมายผลงานแบบ OKRs
 - กรอบการกำหนดเป้าหมายผลงาน 4 ด้านตาม Balance Scorecard
 (2) การวิเคราะห์ความสอดคล้องของเป้าหมายทุกระดับ
 (3) การกำหนดตัวชี้วัดผลงาน
 - เป้าหมายผลงานแบบ KPIs
 - เป้าหมายผลงานแบบ OKRs
 - รูปแบบของ KPIs ที่ควรจะมี
 - ปัญหาของการปรับใช้ KPIs และแนวทางแก้ไข

 การปฏิบัติตามค่านิยมหรือวัฒนธรรมองค์กร (Cultural Fit)
 (1) ทำไมจึงควรประเมินค่านิยมหรือวัฒนธรรมองค์กร
 (2) ปัญหาที่มักพบกับการประเมินค่านิยมหรือวัฒนธรรมองค์กร
 (3) แนวทางการประเมินค่านิยมหรือวัฒนธรรมองค์กรที่ได้ผล

 สมรรถนะ (Competency) หรือระดับทักษะ (Skills Proficiency)
 (1) ทำไมจึงควรประเมินสมรรถนะ หรือระดับทักษะ
 (2) ระหว่างสมรรถนะกับระดับทักษะควรประเมินอะไรดี
 (3) ปัญหาที่มักพบกับการประเมินสมรรถนะหรือระดับทักษะ
 (4) แนวทางการประเมินสมรรถนะหรือระดับทักษะที่ได้ผล

 เกณฑ์การประเมินผล
 (1) ทำไมจึงต้องให้ความสำคัญกับเกณฑ์การประเมิน
 (2) เกณฑ์การประเมินองค์ประกอบของแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
 - เกณฑ์ประเมิน KPIs หรือ OKRs
 - เกณฑ์ประเมินค่านิยมหรือวัฒนธรรมองค์กร
 - เกณฑ์ประเมินสมรรถนะหรือระดับทักษะ

เงื่อนไขสำคัญเพื่อทำให้การประเมินผลช่วยให้ได้ผลงาน

 การติดตามผลงาน (Performance Tracking)

 การพูดคุยเพื่อปรับปรุงผลงาน (Performance Feedback) มอบหมายงานเพื่อติดตามผล : การเขียนบทพูดเพื่ออีเมล์ข้อความชมเชยผลงานพนักงาน

 การชมเชยผลงานพนักงาน (Performance Recognition) ฝึกปฏิบัติ : การเขียนอีเมล์ข้อความชมเชยผลงานพนักงาน และมอบหมายงานเพื่อติดตามผลโดยวิทยากร

 การจัดทํา Action Plan เพื่อรองรับการประเมินผลงาน และ Action Plan Report ที่สนับสนุนการทำงานตามแผน

การปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน : สิ่งที่ต้องทำเมื่อพนักงานผลงานต่ำเป้า

 การปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน (Performance Improvement) คืออะไร

 กระบวนการของการปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน

 กรณีศึกษา : การปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน

 การกำหนดตัวชี้วัดผลจากการปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน

 ทัศนคติคือเรื่องสำคัญที่ต้องปรับปรุง เพื่อให้พนักงานกลับมามีผลงานดี

 กฎแนวทางดำเนินการเมื่อปรับปรุงผลงานแล้วไม่ WORK

 กิจกรรมถาม-ตอบ : กฎหมายแรงงานที่ควรรู้สำหรับการประเมิน และการปรับปรุงผลการปฏิบัติงานพนักงาน

ข้อเสนอแนะการปรับปรุงแบบประเมินผลการปฏิบัติงานองค์กรของท่าน

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้และแนวทางการนำไปใช้งาน

ทำแบบประเมินความรู้หลังเรียน (Post-test)



คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

ผู้จัดการและหัวหน้างานจากทุกสายงานที่บริษัทกำหนด

สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรม Novotel bangkok สุขุมวิท 20

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

24 พฤษภาคม 2567 09.00-16.00

จัดโดย

บริษัท โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง แอนด์ คอนซัลแทนซี่่ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 02 066 0009 , 089 677 6047

ค่าธรรมเนียม (FEE)

4,173 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 123 ครั้ง