สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด19
ที่กระจายไปอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ.2563 เป็นต้นมา
ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและจิตวิทยา
เป็นเหตุให้องค์กรธุรกิจหลายแห่งต้องหยุดชะงัก หรือต้องปิดกิจการลง
ดังนั้นการจัดระบบงานหลักภายในองค์กรให้สามารถดำเนินการต่อไปได้ในภาวการณ์ระบาด
และบุคลากรในองค์กรปลอดภัยจากการเจ็บป่วย
ด้วยการจัดทำแผนงานและวิธีการปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้า ที่เรียกว่า
แผนรองรับการดำเนินธุรกิจต่อเนื่อง (Business
Continuity Planชื่อย่อว่าBCP)เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้องค์กรสามารถประคองธุรกิจ
ลดผลกระทบ และฟื้นตัวได้รวดเร็วภายหลังการระบาด
ตลอดจนการเตรียมความพร้อมสำหรับรองรับเหตุการณ์วิกฤติอื่นๆ
ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตได้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อจัดการหรือบรรเทาความรุนแรง จากเหตุการณ์การระบาดของโรคโควิด19 และหรือเหตุวิกฤติอื่น ๆ ได้
2.เพื่อลดผลกระทบทางการเงิน กฎหมาย บุคลากร การดำเนินงาน และผลกระทบอื่นที่อาจเกิดขึ้นต่อองค์กร
3.เพื่อให้ผู้บริหารขององค์กรเกิดความตระหนัก มีความเข้าใจ สามารถมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย และกระบวนการทำงานขององค์กรให้กลับคืนสู่ภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว
4.เพื่อให้องค์กรสามารถดำเนินกิจการต่อไปได้ ภายใต้ทรัพยากรที่มีอย่างจำกัด จากบุคลากร กระบวนการ เครื่องมืออุปกรณ์ที่มี
เนื้อหาหลักสูตร
1.ความเป็นมา ความเสี่ยง และผลกระทบต่อการระบาดของโรคCOVIC-19 และหรือเหตุวิกฤติอื่น ๆ
2.ความสำคัญของการบริหารความเสี่ยง และความจำเป็นของการบริหารความเสี่ยงในการบริหารงานของกิจการ (Risk-Based Performance Management)
3.กระบวนการบริหารความเสี่ยง (Principles, Framework and Process)
-ประเภทความเสี่ยง (Risk)
-การวิเคราะห์หาความเสี่ยง
-การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
-การวิเคราะห์ผลกระทบความเสี่ยงต่อผลประกอบการด้านต่างๆ
-การจัดลำดับความเสี่ยงเพื่อการบริหารจัดการ (Risk Prioritization)
4.แผนการจัดการความเสี่ยง (Risk Management)เพื่อป้องกัน และลดผลกระทบต่อองค์กร
5.แผนประคองกิจการภายในองค์กร ความหมาย และวัตถุประสงค์
6.แผนประคองกิจการภายในองค์กร กับแผนเตรียมความพร้อมสำหรับการระบาดของโรคCOVID-19หรือเหตุวิกฤติอื่นๆ
7.แนวทางการจัดทำแผนประคองกิจการ
8.ขั้นตอนการจัดทำแผนประคองกิจการ
-ขั้นตอนที่1 ทำความเข้าใจในภารกิจขององค์กร
-ขั้นตอนที่2 ระบุความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับองค์กร
-ขั้นตอนที่3 ลดผลกระทบจากความเสี่ยง
-ขั้นตอนที่4 วางมาตรการแก้ไขปัญหาความเสี่ยง
-ขั้นตอนที่5 เตรียมการและปฏิบัติตามแผน
-ขั้นตอนที่6 ประชาสัมพันธ์แผน
-ขั้นตอนที่7 ตรวจสอบแผน
7.1 แบบรายการตรวจสอบ
7.2 การฝึกซ้อมแผน
9.การจัดการCOVID-19 สำหรับสถานประกอบกิจการ
-บทบาทนายจ้างและผู้บริหาร หัวหน้างาน และลูกจ้าง
-บทบาทเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับวิชาชีพ
-การสื่อสารความเสี่ยงกับพนักงาน
-การดำเนินการกับพนักงานก่อนเข้าสถานที่ทำงาน
-การดำเนินการกับพนักงานระหว่างการทำงาน
-การดำเนินการกับพนักงานภายหลังการเลิกงาน
-การจัดสถานที่ทำงานเพื่อการป้องกันการสัมผัสเชื้อ COVID-19
-แนวทางการคัดกรอง ผู้มาติดต่อ
-แนวทางการติดตาม ผู้สัมผัสเชื้อ
-แบบรายงาน พนักงานป่วยสงสัยโรคCOVIC-19
-การดำเนินการ กรณีพบว่ามีการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อ หรือพนักงานติดเชื้อCOVID-19
10.กรณีศึกษาและการกำหนดนโยบายเกี่ยวกับพนักงานภายในองค์กร
Workshop :การประเมินความเสี่ยงและกำหนดแผนลดวามเสี่ยงจากโรค COVIC-19
ระยะเวลาการฝึกอบรม (Time) หลักสูตรONLINE 6 ชั่วโมง เวลา09.00 - 16.00 น.
รูปแบบการอบรม (Methodology)
1. Zoom Online Meetingบรรยาย พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา สนทนาและตอบข้อซักถาม
2. เอกสารประกอบการบรรยายจะจัดส่งเป็นไฟล์ PDFให้ก่อนวันอบรม2-3 วัน
อาจารย์พงศา บุญชัยวัฒนโชติ
กำหนดการ วันศุกร์ที่11 มีนาคม2565
สถานที่ Zoom Online Meeting
ราคา 2,500 บาท
-ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
-นิติบุคคล สามารถหักภาษี ณ ที่จ่าย3%
รายละเอียดเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่
บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
เลขที่ 98/83 หมู่ที่ 4ตำบลบึงยี่โถ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี12130
[email protected]อาจารย์พงศา บุญชัยวัฒนโชติ