Letter of Credit & UCP 600
Techniques for checking documents according to L/C & UCP 600
รุ่นถัดไป วันที่ 31 ตุลาคม 2567
เวลา 09.00-16.00 โรงแรมRembrandt สุขุมวิท 18
ความสำคัญ
Letter of Credit เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการชำระเงินค่าสินค้าทั้งผู้ส่งออกและผู้นำเข้า ถ้าเข้าใจเงื่อนไขของL/Cคู่ค้าก็ไม่สามารถเอาเปรียบเราได้ โดยเฉพาะเมื่อมีค่าใช้จ่าย เช่น
ค่าธรรมเนียมใครควรรับผิดชอบค่าใช้จ่ายนั้น หรือ
ผู้ส่งออกที่ต้องส่งสินค้าภายใต้เงื่อนไขของ L/Cยิ่งต้องทำเอกสารหาเอกสารให้ครบถ้วนถูกต้องตามที่L/C กำหนด มิฉะนั้นอาจทำให้ไม่ได้รับเงินตามกำหนดหรือแย่กว่านั้นอาจไม่ได้รับเงินเลย
ผู้นำเข้าก็เช่นเดียวกัน ก่อนจะเห็นสินค้าว่าถูกต้องตามคุณภาพ รวมทั้งจำนวนสินค้าครบถ้วนหรือไม่ก็ต้องชำระเงินก่อนที่จะเห็นสินค้า ก็ต้องเข้าใจในL/Cและเอกสารนั้นถูกต้องหรือไม่
ดังนั้นจะต้องเข้าในเชิงลึกของ L/C โดยละเอียด ว่าอย่างไรทำไม่ได้ อย่างไรทำได้ การสัมมนาครั้งนี้จะให้รายละเอียดในการอ่านL/CและUCP 600ที่ออกโดยสภาหอการค้าระหว่างประเทศที่ประกาศใช้เมื่อวันที่1 กรกฏาคม2550ที่มีทั้งหมด39มาตรา การจะบอกว่าเอกสารมีที่ผิดหรือถูกนั้นก็ใช้มาตราต่าง ๆ ของUCP 600เป็นข้ออ้างอิง เพื่อการนำเสนอเอกสารผ่านธนาคารได้ถูกต้องแม่นยำและรวดเร็ว
วข้อการสัมมนา
1.วิเคราะห์Letter of Credit :
-การใช้Standby ~L/Cเพื่อการค้ำประกัน
-ความได้เปรียบเสียเปรียบเทอมการชำระเงิน L/C RESTRICTEDหรือไม่
- Incoterms ® 2020ที่ใช้สอดคล้องตามที่ตกลงหรือไม่
2.ต้องการเอกสารอะไรบ้าง และใครเป็นผู้ออกเอกสารนั้น
3.การใช้UCP 600ทั้ง39 มาตราในการจัดทำเอกสาร
4. UCP 600ได้ให้ความหมายของShipment termว่านับอย่างไร ถ้าL/Cระบุ
- On or about
- First Half, Second Half
- Beginning, Middle, End
5. UCP 600จะระบุหน้าที่ความรับผิดชอบของธนาคาร (Issuing Bank, Confirming Bank)
-มาตราฐานในการตรวจเอกสารตามมาตราที่14ที่จะต้องปฏิบัติ
-การปฏิเสธเอกสารที่มีข้อผิดพลาด (Discrepancy)ของการใช้มาตราที่16ต้องปฏิบัติอย่างไร
-การขอใบตราส่งให้สอดคล้องใน L/C (ใช้มาตราที่19ถึง25)
-ความหมายของคำว่า "CLEAN"ตามมาตราที่27
-การจัดหาInsurance Policy/Certificateตามมาตราที่28
-ถ้าวันหมดอายุของ L/Cตรงกับวันหยุดทำอย่างไร(มาตราที่29)
-ความหมายของคำว่า "ABOUT"ตามมาตราที่30
-การใช้ "PARTIAL SHIPMENT"ตามมาตราที่31
-การส่งสินค้าเป็นงวด ๆ ตามาตราที่32
-การยื่นเอกสารนอกเวลาทำการของธนาคาร ตามมาตราที่33
-เอกสารที่ปลอมแปลงใครรับผิดชอบ มาตราที่34
-เอกสารสูญหายล่าช้าใครรับผิดชอบ มาตราที่35
-เหตุสุดวิสัย ตามาตราที่ 36
-ผู้ซื้อจะต้องรับผิดต่อการเปิด L/Cมาตราที่37
-ผู้ขายต้องการโอน L/Cให้กับผู้อื่น ต้องทำอย่างไร มาตราที่38
-จะโอนบางส่วนได้ ต้องทำอย่างไร
-ผู้รับโอนมาแล้วจะโอนต่อทำอย่างไร
-ผู้รับประโยชน์ตาม L/CจะหาSupplierได้อย่างไร มาตราที่ 39
โดย อาจารย์มนตรี ยุวชาติ
อดีตผู้บริหาร บมจ.ธนาคารกรุงเทพ
ตำแหน่งปัจจุบันผู้ประนีประนอมในศาลทรัพย์สินทางปัญญา
และการค้าระหว่างประเทศกลาง
หลักสูตรนี้เหมาะกับใคร ผู้ที่ต้องรับผิดชอบในการจัดซื้อหรือการขายสินค้าระหว่างประเทศ การส่งออกและการนำเข้าสินค้า
วิธีการสัมมนา
การบรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบการตอบข้อซักถาม
อัตราค่าอบรมสัมมนาท่านละ 3,900 +Vat 273 = 4,173 บาท
เงื่อนไขการอบรม... ห้ามบันทึกภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่
การชำระค่าธรรมเนียม
บริษัท โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง โซลูชั่น จำกัด (Professional Training Solution Co .,Ltd)
เลขที่89/161ซอยพระยาสุเรนทร์21แยก3 แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ10510
เลขประจำตัวผู้เสียภาษี 0105566006450
โอนเงินเข้าบัญชี
ธนาคารกสิกรไทย สาขาโลตัส
รามอินทรา 109 บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 148-3-63836-8
2. ผู้เข้าอบรมรับผิดชอบค่าธรรมเนียมการโอนเงินข้ามจังหวัด
ติดต่อ คุณตุ้ม 086-8929330 02-1753330 Email:info.ptstraining@gmail.com
คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม
ผู้ที่ต้องรับผิดชอบในการจัดซื้อหรือการขายสินค้าระหว่างประเทศ การส่งออกและการนำเข้าสินค้า
อ.มนตรี ยุวชาติ