In-house Training หลักสูตร First Aid – CPR and AED

01 มกราคม - 31 ธันวาคม 2567

หลักสูตรFirst Aid – CPR and AED

(การปฐมพยาบาลเบื้องต้นด้วยCPR และ AED)

***ภาคปฏิบัติ อบรม 1 วัน08.00 – 17.00 น***

 

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ : อาจารย์ตู่ สรายุทธ์ พงษ์ภุมมา 


วัตถุประสงค์ 
   1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้และเข้าใจถึงความสำคัญของการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
   2.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้เรื่องปฐมพยาบาลเบื้องต้นไปช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น ในกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
   3.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และ ผู้อื่น


หัวข้อการอบรม

08.00 – 08.10 น.
  1.ลงทะเบียน รับคู่มือ แนะนำวิทยากร
     ( Register , Get a training manual , Introducing the instructor team)

08.10 – 10.30 น.
  2.หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้น (First Aid Principle)
  3.การประเมินสถานการณ์ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย (Primary and secondary survey)
  4.การขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Requesting support from relevant authorities)
  5.การประเมินกลไกการบาดเจ็บ (Assessment of mechanism of Injury)
  6.การใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองสำหรับการปฐมพยาบาล (Personal Protection Equipment: PPE)
  7.การประเมินระบบสำคัญของการมีชีวิต (Survival System Assessment)
  8.การตรวจประเมินสภาพความเจ็บป่วยเบื้องต้น (Primary Assessment)
  9.ฝึกปฏิบัติแบบจำลองสถานการณ์ (Simulation Practice)

10.30 – 10.45 น.       พักรับประทานอาหารว่าง 15 นาที

10.45 – 11.15 น.
  10.ภาวะการเจ็บป่วยฉุกเฉิน จากสาเหตุทั่วไป (Medical Emergency Illness)
  11.ภาวะเป็นลม และการปฐมพยาบาล (Fainting First Aid)
  12.ภาวะหมดสติ และการปฐมพยาบาล (Unconscious First Aid)
  13.โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน และการปฐมพยาบาล (Coronary Artery Syndrome First Aid)
  14.โรคหลอดเลือดสมอง และการปฐมพยาบาล (Stroke First Aid)
  15.ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยเบาหวาน (Diabetes Emergency First Aid)
  16.ผู้ป่วยชัก และการปฐมพยาบาล (Seizures First Aid)
  17.อาการคลื่นไส้ อาเจียน และการปฐมพยาบาล (Nausea and Vomiting First Aid)
  18.อาการถ่ายเหลวเฉียบพลัน และการปฐมพยาบาล (Acute Diarrhea First Aid)
  19.เลือดกำเดา และการปฐมพยาบาล (Epistaxis First aid)
  20.ภาวะแพ้รุนแรง และการปฐมพยาบาล (Anaphylaxis First Aid)
  21.แมลง สัตว์กัด ต่อย และการปฐมพยาบาล (Insect Bites First Aid)

11.15 – 12.00 น.
  22.บาดแผล การตกเลือด และการปฐมพยาบาล (Wound and Bleeding First Aid)
  23.กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของผิวหนัง (Anatomy and Physiology of Skin)
  24.ประเภทของบาดแผล (Wound Types)
  25.แผลถลอก (Abrasion Wound)
  26.แผลตัดเฉือน (Cut Wound)
  27.แผลฉีกขาด (Lacerated Wound)
  28.แผลมีวัตถุปักคา (Impaled Object Wound)
  29.แผลทะลุที่หน้าอก (Puncture Chest Wound)
  30.แผลอวัยวะถูกตัดขาด (Amputated Wound)
  31.แผลอวัยวะโผล่หน้าท้อง (Evisceration Wound)
  32.แผลจากความร้อน (Heat Burn)
  33.แผลจากสารเคมี (Chemical Burn)
  34.แผลจากไฟฟ้าช็อต (Electric Burn)

12.00 – 13.00 น.       พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.00 น.
  35.การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ ข้อต่อ กระดูกหัก และการปฐมพยาบาล (Muscle, Joint and Bone Injuries)
  36.กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของกล้ามเนื้อ (Anatomy and Physiology of Muscle)

กลักการประเมินความรุนแรงการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ (Muscle Injuries Assessment)
  37.การปฐมพยาบาลกล้ามเนื้อบาดเจ็บ (Muscle Injuries First Aid)
  38.กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของข้อต่อ (Anatomy and Physiology of Joint)
  39.หลักการประเมินความรุนแรงการบาดเจ็บของข้อต่อ (Joint Injuries Assessment)
  40.การปฐมพยาบาลข้อต่อบาดเจ็บ (Joint Injuries First Aid)
  41.กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของกระดูก (Anatomy and Physiology of Bone)
  42.หลักการประเมินประเภท และความรุนแรงของกระดูกหัก (Broken Bone Assessment)
  43.กระดูกหักประเภทต่างๆ และการปฐมพยาบาล (Broken Bone First Aid)

 14.00 – 14.30 น.
  44.การยกและการเคลื่อนย้ายผู้เจ็บป่วย (Victim Lifting and Moving)
  45.การยกและเคลื่อนย้ายผู้เจ็บป่วยอย่างปลอดภัย (Safety Lifting and Moving)
  46.การเคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉิน (Emergency Moving)
  47.การเคลื่อนย้ายแบบปกติด้วยมือเปล่า การเคลื่อนย้ายด้วยอุปกรณ์ประยุกต์ และการเคลื่อนย้ายด้วยอุปกรณ์สำเร็จรูป

14.30 -14.45 น.         พักรับประทานอาหารว่าง 15 นาที

14.45 – 14.45 น.
  48.การฝึกปฏิบัติแบบจำลองสถานการณ์ (Flow Simulation)
  49.ฝึกปฏิบัติการห้ามเลือดด้วยผ้าห้ามเลือด (Top Dressing)
  50.การพันผ้ายืดห้ามเลือด (Elastic Bandage)        
  51.ฝึกปฏิบัติการเข้าเฝือกชั่วคราว (Splinting) ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
  52.ฝึกปฏิบัติการยกและเคลื่อนย้ายด้วยมือเปล่า
  53.ฝึกปฏิบัติการยกและเคลื่อนย้ายด้วยอุปกรณ์ประยุกต์

14.45 – 15.15 น.
  54.การฝึกปฏิบัติแบบจำลองสถานการณ์ (Flow Simulation)
  55.ฝึกปฏิบัติการห้ามเลือดด้วยผ้าห้ามเลือด (Top Dressing)
  56.การพันผ้ายืดห้ามเลือด (Elastic Bandage)
  57.ฝึกปฏิบัติการเข้าเฝือกชั่วคราว (Splinting) ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
  58.ฝึกปฏิบัติการยกและเคลื่อนย้ายด้วยมือเปล่า
  59.ฝึกปฏิบัติการยกและเคลื่อนย้ายด้วยอุปกรณ์ประยุกต์ 

15.15 – 16.00 น.
  60.การกู้ชีพขั้นพื้นฐาน (Cardio Pulmonary Resuscitation: CPR)
  61.กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System)
  62.กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของระบบไหลเวียนโลหิต (Circulatory System)
  63.ระดับของการทำ CPR (Levels of CPR)
  64.คุณภาพของการทำ CPR (High Quality of CPR)
  65.ฝึกปฏิบัติการทำ CPR แบบ 1 คน และแบบ 2 คน (One and Two Practical Rescue CPR)
  66.สอบปฏิบัติการทำ CPR แบบ 1 คน และแบบ 2 คน (One and Two Rescue CPR Test)

 16.00 – 17.00 น.
  67.การใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (Automated External Defibrillator)
  68.ประโยชน์ และการทำงานของเครื่อง AED
  69.การใช้เครื่อง AED
  70.ฝึกการใช้เครื่อง AED
  71.สอบปฏิบัติการใช้เครื่อง AED
  72.สรุป คำถามและคำตอบ

 

หมายเหตุ หัวข้อที่เสนอสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความต้องการของลูกค้าหรือตามความคิดเห็นของวิทยากร

 รายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ

วิทยากร

อาจารย์ตู่ สรายุทธ์ พงษ์ภุมมา



สถานที่อบรม (VENUE)

In-house Training

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

01 มกราคม - 31 ธันวาคม 2567 08.00-17.00

จัดโดย

บริษัท ไฮโพ เทรนนิ่ง แอนด์ คอนเซ้าท์แทนซี่ จํากัด
เบอร์ติดต่อ : 086-318-3151

ค่าธรรมเนียม (FEE)

19000 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 435 ครั้ง