E.Q. หัวหน้างานกับการรับมือลูกค้าและผู้ร่วมงานที่มีประสิทธิภาพ (E.Q. for Supervisor)

24 มกราคม 2568



หลักการและเหตุผล

         หัวหน้างานคือผู้ที่ผลักดันงานให้สำเร็จ โดยผ่านการทำงานของคนอื่น ซึ่งครอบคลุมทั้งผู้ที่เป็นลูกน้องตนเอง อีกทั้งคนอื่นที่อยู่รอบข้างหน่วยงานตนเอง ดั้งนั้น จึงต้องอาศัยทั้งความฉลาดทางสติปัญญา(I.Q.)และความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q.)ร่วมกัน เพื่อให้เป้าหมายงานนั้นบรรลุผลสำเร็จ

 

วัตถุประสงค์

1.      เข้าใจ "กรอบ" ในการควบคุมอารมณ์ตนเองในฐานะของ "หัวหน้างาน" มิใช่ "หัวร้อน"

2.      ใช้ "ทักษะวิธีการสื่อสาร" ที่ทำให้ปัญหาหรือสถานการณ์ต่างๆ ไม่ลุกลามเลวร้าย 

3.      สามารถ "พัฒนาภาพลักษณ์ของตน" ให้เป็นผู้ที่มองโลกในทางสร้างสรรค์ เผชิญหน้ากับคนที่มีอารมณ์รุนแรง หรือกับสถานการณ์ หรือกับปัญหาต่าง ๆ ได้ดี

4.      ยึด "แนวทางเชิงจิตวิทยา" ในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ได้ด้วยตนเอง

 

หัวข้อสัมมนา

·       มาเรียนรู้5ข้อจำกัดของคนเรา:รากเหง้าของการเป็น "คนอีคิวไม่ดี"

     -ยึดตนเอง

     -มุมมองต่างกัน

     -ถูกหลอหลอมต่างกัน

     -รับรู้ต่างกัน

     -สถานภาพต่างกัน

·       ความสำคัญและผลกระทบของการจัดการความฉลาดทางอารมณ์

-ผลกระทบต่อตนเอง

-ผลกระทบต่องาน

-ผลกระทบต่อองค์กร

·       แบบประเมินระดับของความฉลาดทางอารมณ์                                                                       (สถานการณ์จำลอง มีตัวเลือก และระบุวิธีการด้วยตนเอง เพื่อเทียบกับระดับของเกณฑ์มาตรฐาน)

·       องค์ประกอบของการจัดการความฉลาดทางอารมณ์

-เรื่องสถานการณ์ (Situation Control)

-ตัวผู้กระทำ/บุคคลที่เกี่ยวข้อง (People Control)

-การมองที่เจตนารมณ์

-การยอมรับข้อจำกัด

-การให้อภัย

-การให้โอกาสแก้ไข

-การควบคุมตนเอง

·       LIB-PQRS Techniques :จิตวิทยาการสื่อสารแบบคนที่มีความฉลาดทางอารมณ์

-การฟัง3ประเภท

-การพูดจา(U & I Message)

-การถอดความ

-การถาม

-การสะท้อนความรูสึก

-การสรุปประเด็น

-การแสดงออกด้วยภาษากาย

·       เทคนิคการรับมือกับบุคคลที่ยุ่งยากหรือขาดความฉลาดทางอารมณ์อย่างสร้างสรรค์

-การพลิกสถานการณ์

-การตีความใหม่

-การสะท้อนกลับ

-การฉุกให้คิด

-ฯลฯ

·       9เทคนิคการประสานงานและโน้มน้าวใจผู้อื่นให้ความร่วมมือและปฏิบัติตาม

-การผลักและดึง

-การให้และขอ

-ฯลฯ

·       การรับมือกับบุคคลแบบต่างๆ ในที่ประชุม เช่น

      -คนที่ออกนอกวาระการประชุม

      -คนที่ชักใบให้เรือเสีย

      -คนโต้เถียงต่างเอาชนะกัน

     -ฯลฯ

·       ความฉลาดทางอารมณ์ในบทบาทต่างๆ ในที่ทำงาน

-บทบาทของหัวหน้างาน

-บทบาทของลูกน้อง

-บทบาทของเพื่อนร่วมงาน

-บทบาทของตัวแทนองค์กร

·       แนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ด้วยตนเอง

-การรู้ทัน

-การระงับได้

-การจัดการเป็น

-การเข้าใจผู้อื่น

-การคิดบวก

วิธีการฝึกอบรม:

·      บรรยาย กิจกรรมกลุ่ม การฝึกปฏิบัติ การชมVDO Clipและการให้ข้อสรุป

เหมาะสำหรับ:

·       หัวหน้างานงานทุกระดับและผู้สนใจทั่วไป


สถานที่อบรม (VENUE)

สถานที่ โรงแรมโกลด์ออร์คิดกรุงเทพ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท**สถานีอาจมีการเปลี่ยนแปลง

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

24 มกราคม 2568 09.00-16.00 น.

จัดโดย

ดีทีเอ็นเทรนนิ่ง
เบอร์ติดต่อ : 096-669-5554 ,064-325-4946

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 19 ครั้ง