1. หลักการและเหตุผล
Harvard business schoolได้เขียนไว้ว่า "อันที่จริงแล้วบริษัทไม่ได้แข่งขันเรื่องคุณภาพกับบริษัทคู่แข่ง บริษัทไม่ได้แข่งขันเรื่องการส่งมอบกับบริษัทคู่แข่ง แต่บริษัทกำลังแข่งขันเรื่องmindset ของพนักงานกับคู่แข่งต่างหาก" ดังนั้นmindsetของพนักงานจึงเป็นตัวกำหนดความสามารถขององค์กร หรืออาจจะเรียกได้ว่าSmart organization=Smart boss+Smart employee
วงจรการเพิ่มประสิทธิภาพที่เปลี่ยนแปลงโลกของ Edward Demingมีมาช้านานคือ P-D-C-Aที่แปลว่าPlan-Do-Check-Act(Analysis)แต่จุดอ่อนในการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องที่เป็นจุดวิกฤตที่สุด ที่ไม่สามารถหมุนวงล้อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องได้ก็คือAnalysis skillsของพนักงาน
หลักสูตรAnalytical thinking skills for problem solvingหรือทักษะการคิดวิเคราะห์เพื่อการแก้ปัญหาจึงเป็นหลักสูตรที่แก้ไขจุดอ่อน และเพิ่มขีดความสามารถให้กับองค์กรของท่าน ปัญหาที่ว่ายากและซับซ้อนจะถูกแยกส่วนออกมาให้เพื่อวิเคราะห์และจัดการได้.
Course นี้มุ่งเน้นสร้างขีดความสามารถให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา แยกปัญหาออกเป็นส่วนย่อยๆ วิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้าของปัญหา นำไปสู่การปรับปรุงแก้ไขด้วยเครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาของระบบLeanที่กำลังใช้กันทั่วโลกอย่างแพร่หลาย
Analytical thinking skills for problem solving จะช่วยวิเคราะห์ปัญหาอีกด้วยว่า "ทำไมพนักงานไม่ค่อยคิด" อันมีสาเหตุจาก วัฒนธรรมองค์กร เกิดจากLeadership และเกิดจากmanagement behaviorการปรับเปลี่ยนmindsetและวิธีคิดวิเคราะห์ เพื่อให้กระบวนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพัฒนาองค์กรเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ลดต้นทุนการดำเนินงาน เพิ่มขีดความสามารถ เพิ่มกำไร และสามารถจะขยายธุรกิจได้
2. วัตถุประสงค์
1. ผู้เข้าสัมมนาได้เรียนรู้ถึงสาเหตุของจุดอ่อนในการคิดวิเคราะห์ และวิธีการปรับปรุง
2. ผู้เข้าสัมมนาเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ส่งเสริมสอดคล้องในการคิดวิเคราะห์
3.เพื่อให้องค์กรผู้เข้าสัมมนาเป็นSmart organization with smart employees
4. ผู้เข้าสัมมนาได้ยกระดับขีดความสามารถการคิดแบบ Analytical thinking
5.พนักงานขององค์กรผู้เข้าสัมมนาเป็นTrainerพนักงานในองค์กรให้เพิ่มทักษะการคิดวิเคราะห์ได้อย่างมีประสิทธิภาพได้
6.เพื่อให้องค์กรผู้เข้าร่วมสัมมนามีขีดความสามารถมากกว่าคู่แข่งขัน
3. หัวข้องานสัมมนา
3.1. นิยามของAnalytical thinking skills for problem solving
3.2. วิธีการทั่วไปเกี่ยวกับการพัฒนา Analytical thinking
§ รูปแบบของThinking และระดับของ Thinking
§ การคิดวิเคราะห์และการคิดแบบใช้ดุลยพินิจ
§ การคิดวิเคราะห์และการคิดแบบใช้วิจารณญาณ
§ 10ปัญหาสาเหตุที่พนักงานไม่คิดวิเคราะห์
§ Comfort zoneมุมสบายของงพนักงานคืออะไร
§ การเปลี่ยนMindset
§ เล่นปิงปอง โยนปัญหา ซุกซ่อน ปกปิดปัญหา
§ Iceberg of ignoranceภูเขาน้ำแข็งของความไม่รู้ข้อมูลจริง
§ ทักษะการคิดแบบต่างๆ
§ นิสัยการคิด9อย่าง
§ ลักษณะการคิดแบบวิเคราะห์ และ การคิดแบบไม่วิเคราะห์
§ วงจรความคิดแบบDIAA(Data-insight-action-assessment)
§ Element of thought ส่วนย่อยๆของความคิด
§ กรวยกลั่นความคิดFunnel of innovation
§ ทฤษฏีคนคิดแบบหมวก6สีSix thinking hats
§ Modelการสร้างวิธีคิดแบบใช้วิจารณญาณ
§ ทักษะการคิดชั้นสูงของ บลูม
3.3ทักษะการคิดวิเคราะห์เพื่อการแก้ปัญหา 5ขั้นตอน
§ ปัญหา การนิยามปัญหา
§ การกำหนดสมมติฐาน
§ การเก็บและรวบรวมข้อมูลของปัญหา
§ การทำการวิเคราะห์ปัญหา
§ การสร้างมาตรการแก้ไข-ป้องกัน
3.4เทคนิคในการวิเคราะห์ปัญหา
§ Benchmarkingหรือการเทียบระดับตัวชี้วัดกับคู่แข่ง
§ SWOT analysisการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสพัฒนา และภาวะคุกคาม
§ Force field analysisแรงผลักดันในการเปลี่ยน และ แรงต่อต้านการเปลี่ยน
§ Cost benefit analysisการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย เทียบกับ ประโยชน์ที่ได้รับ
§ Impact analysisการวิเคราะห์ผลกระทบ
§ Pareto chartการวิเคราะห์เพื่อหา Top 3 problems
3.5 Root cause analysisการวิเคราะห์เพื่อหารากเหง้าของปัญหา
§ Brainstormingการระดมสมอง
§ หลักการของRoot cause analysis
§ ผังก้างปลา
§ 5 W+1 H
§ Why-Why Analysis
§ Critical to quality(CTQ)การิเคราะห์ประเด็นที่วิกฤตต่อคุณภพ
§ Improvement method
1. How-How analysis
2. ECRS(Eliminate-Combine-Rearrange-Simplify)
3. RACI(Responsible person-Accountable-Consulting-Inform)
ค่าสัมมนาราคาท่านละ 3500 บาท
วิทยากร อาจารย์พิสิทธิ์ ชูยงค์ ผู้เชี่ยวชาญด้านProductivity improvementของ องค์การสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาการค้าUNCTAD(United Nations Conference for Trade Development)และ USAID(United State Aid for International Development)และผู้เชี่ยวชาญระบบ Leanในระดับสากลซึ่งเป็นที่ปรึกษาในเอเซียอยู่หลายประเทศ อาจารย์มีประสบการณ์ตรงจากการเคยเป็นวิศวกรอุตสาหการ ผู้จัดการฝ่ายIndustrial engineering, Production manager, Factory manager, General manager,และวางระบบLeanในโรงงานมาตั้งแต่ปี 1987 นอกจากนี้ยังได้มีส่วนในการช่วยให้องค์กรอื่น ๆ นำแนวทางดังกล่าวไปปฏิบัติจนได้รับความสำเร็จอย่างมหาศาล โดยในการสัมมนาครั้งนี้ อาจารย์พิสิทธิ์ ชูยงค์ จะมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์กับท่านถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้มา ในการทำความเข้าใจวัตถุประสงค์และพลังแห่งการปฏิบัติตามวิถีแห่งลีน ล่าสุดอาจารย์ทำงานเป็นVice President Lean Managementของบริษัท Singaporeในกัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียตนาม
อาจารย์เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้ง สถาบันKaizenในประเทศไทย