การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย (Withholding Tax)เป็นกลยุทธ์เป็นกลยุทธ์ของกรมสรรพากร
โดยบัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร (The
Revenue Code)กำหนดให้"ผู้จ่ายเงิน" (The Payers)ได้พึงประเมินบางประเภทมีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ไว้
ณ ที่จ่าย ให้ถูกต้องครบถ้วนแล้วนำส่งกรมสรรพากรล่วงหน้า มิฉะนั้น ผู้จ่ายเงินจะมีความผิดตามกฎหมายทั้งในทางแพ่งและอาญา
รวมทั้งรับผิดชอบในจำนวนเงินภาษีที่ตนมิได้ทำการหักไว้นั้นด้วย
เพราะถือเป็นหน้าที่ อีกทั้งถ้าผู้จ่ายเงินได้ทำเกินหน้าที่ของตน ก็คือหักภาษีไว้
ณ ที่จ่ายไว้เกินหรือได้หักภาษี ณ ที่จ่ายซึ่งตนไม่มีหน้าที่หักฯ ก็ยังต้องรับผิดต่อผู้รับเงินในการกระทำนั้นอันถือเป็นการละเมิด
ด้วยเหตุนี้ วิธีการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย (Withholding Tax)ให้ถูกต้องตามกฎหมายโดย
"ไม่ขาด/ไม่เกิน"ย่อมช่วยป้องกันปัญหาต่างๆ
ตามมาอีกมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การตรวจสอบย้อนหลังของกรมสรรพากร
หัวข้อบรรยาย
1.การพิจารณาบุคคล"ผู้จ่าย"และ"ผู้รับ"เงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากร
2.การตีความประเภทของเงินได้พึงประเมินที่ต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
3.การยกเว้นประเภทของบุคคลผู้รับเงินได้ และประเภทของเงินได้ที่ไม่ต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
4.การพิจารณาการจ่ายเงินได้พึงประเมิน 12กรณี ที่ต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
(1)กรณีนายจ้างจ่ายให้กับลูกจ้าง
(2)กรณีผู้ว่าจ้างจ่ายให้ผู้รับจ้าง
(3)กรณีจ่ายเป็นค่าทรัพย์สินทางปัญญา
(4)กรณีจ่ายเป็นดอกเบี้ย/ปันผล/ส่วนแบ่งกำไรและการลงทุน
(5)กรณีจ่ายค่าเช่า
(6)กรณีจ่ายเป็นค่าวิชาชีพอิสระ
(7)กรณีจ่ายเป็นค่าธุรกิจประเภทต่างๆ รวมทั้งการแข่งขันชิงโชค
-การขายอสังหาริมทรัพย์
-การส่งเสริมการขาย
(8)กรณีจ่ายให้กับมูลนิธิ/สมาคม
(9)กรณีจ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าพืชไร่
(10)กรณีจ่ายเป็นค่าโฆษณา
(11)กรณีส่วนราชการเป็นผู้จ่าย
(12)กรณีจ่ายให้กับบริษัทในต่างประเทศ
5.หลักด้านคุณธรรมและจริยธรรม
รองศาสตราจารย์เพิ่มบุญ แก้วเขียว
โรงแรมบูเลอวาร์ด กรุงเทพฯ
บุคคลทั่วไป ท่านละ4,500บาท
สมาชิก ท่านละ4,000 บาท
ลงทะเบียน3ท่านขึ้นไป ท่านละ3,500บาท
**ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม7%**บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
34/289หมู่บ้านไทยสมบูรณ์
2หมู่ที่2ต.คลองสาม อ.คลองหลวง
จ.ปทุมธานี12120
รองศาสตราจารย์เพิ่มบุญ แก้วเขียว