วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ : เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม
1.เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เทคนิคการสัมภาษณ์เชิงจิตวิทยา และเทคนิคที่ต้องใช้ควบคู่กับการสัมภาษณ์เชิงจิตวิทยา รวมทั้งจิตวิทยาที่นำมาปรับใช้ในกระบวนการสัมภาษณ์ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2.สามารถออกแบบคำถามสัมภาษณ์จิตวิทยาเชิงพฤติกรรม (Behavioral Based Psychological Interview : BBPI)และจัดทำInterview Guidelineได้อย่างชัดจน เป็นรูปธรรม ในการปฏิบัติใช้
3.สามารถออกแบบคำถามสัมภาษณ์จิตวิทยาเชิงสถานการณ์ (Situational Based Psychological Interview : SBPI)และจัดทำInterview Guidelineได้อย่างชัดจน เป็นรูปธรรม ในการปฏิบัติใช้
4.เสริมสร้างทักษะการสัมภาษณ์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ด้วยการสัมภาษณ์จิตวิทยาเชิงพฤติกรรม และเชิงสถานการณ์
5.เสริมสร้างและพัฒนาเทคนิคพิเศษ "DISC Interview, Competency's Result Analysis, 3 Know Techniques, Storytelling Analysis, Deep Listeningและจับโป๊ะโกหก" ที่ช่วยให้การสัมภาษณ์เชิงจิตวิทยามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
6.เสริมสร้างทักษะการคัดเลือกบุคลากรด้วยหลักจิตวิทยาให้ได้บุคลากรที่เหมาะสมกับองค์กร
7.เสริมสร้างทักษะการวิเคราะห์คำตอบเชิงจิตวิทยาที่ผู้สมัครใช้ตบตาผู้สัมภาษณ์ให้ตกหลุมพรางได้หนังไม่ตรงปก
ส่วนที่ 1 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสัมภาษณ์พนักงานใหม่เชิงจิตวิทยา
· การสัมภาษณ์งานเชิงจิตวิทยาคืออะไร?
· จำเป็นด้วยหรือ ที่ต้องสัมภาษณ์งานเชิงจิตวิทยา?
· ไม่ได้จบจิตวิทยามา แล้วจะสัมภาษณ์เชิงจิตวิทยาได้อย่างไร?
· ประเภทของคำถามเชิงจิตวิทยาที่ใช้ในการสัมภาษณ์พนักงานใหม่
· หลักจิตวิทยาพื้นฐานสำหรับการสัมภาษณ์พนักงานใหม่
· กระบวนการสัมภาษณ์ที่ส่งเสริมการสัมภาษณ์เชิงจิตวิทยา
· จิตวิทยาใช้เฉพาะขั้นตอนการสัมภาษณ์เท่านั้นหรือ?
· ความสัมพันธ์ของการสัมภาษณ์จิตวิทยาเชิงพฤติกรรม (Behavioral Based Psychological Interview : BBPI)กับการสัมภาษณ์เชิงสมรรถนะ (Competency Based Interview : CBI)
· การสัมภาษณ์จิตวิทยาเชิงพฤติกรรม (Behavioral Based Psychological Interview : BBPI)แบบ "ST-A-R Techniques"
· ตัวอย่างคำถามสัมภาษณ์จิตวิทยาเชิงพฤติกรรมที่องค์กรยุคใหม่นิยมใช้
· Workshop 1 : ฝึกปฏิบัติออกแบบคำถามสัมภาษณ์จิตวิทยาเชิงพฤติกรรม และจัดทำ Interview Guidelineของบริษัท
· การสัมภาษณ์จิตวิทยาเชิงสถานการณ์ (Situational Based Psychological Interview : SBPI)ด้วย "ST-A-R Techniques"
· ตัวอย่างคำถามสัมภาษณ์จิตวิทยาเชิงสถานการณ์ที่องค์กรยุคใหม่นิยมใช้
· Workshop 2 :ฝึกปฏิบัติออกแบบคำถามสัมภาษณ์จิตวิทยาเชิงสถานการณ์ และจัดทำ Interview Guidelineของบริษัท
· เทคนิคที่ 1 การตั้งถามในการวิเคราะห์ "ตัวตนของผู้สมัครงาน" ด้วย "DISC Interview"
· ตัวอย่างคำถามในการวิเคราะห์ตัวตนผู้สมัครงาน ด้วย DISC โดยไม่ต้องทำTest
· เทคนิคที่ 2 การตั้งถามในการวิเคราะห์เจาะลึกและสืบค้น "ระดับขีดความสามารที่แท้จริง" ของผู้สมัครงาน ด้วย "Competency's Result Analysis"
· เทคนิคที่ 3 การตั้งถามในการวิเคราะห์เจาะลึกและต่อเนื่องว่า ผู้ถูกสัมภาษณ์ "ตอบหลักการ หรือภาพรวม" แบบ "Seriesด้วย3 Know Techniques"
· เทคนิคที่4 การตั้งถามในการวิเคราะห์เจาะลึกการเล่าเรื่องว่า คำตอบนั้น ๆ เป็น "ตัวจริง หรือตัวลวงของผู้สมัคร" ด้วย "Storytelling Analysis"
· เทคนิคที่ 5 การฟัง "ให้ได้ยินถึงคำพูดในใจที่ผู้สมัครไม่ได้ตอบออกมา" ด้วย "การฟังเชิงลึก (Deep Listening)"
· เทคนิคที่ 6 การวิเคราะห์ "จับเท็จหรือจับโป๊ะโกหก" ผู้สมัครงานว่า "สร้างเรื่อง หรือพูดเกินจริง"
· การคัดเลือกบุคลากรให้เหมาะสมกับองค์กร ด้วยหลักจิตวิทยา
· การวิเคราะห์และประเมินผู้สมัครงานว่ามีมุมมองแบบGrowth MindsetหรือFixed Mindset
· การคัดเลือกบุคลากรที่มีDNAตรงกับที่องค์กรคาดหวัง
· จะรู้ได้อย่างไรว่าเราไม่ตกหลุมพรางคำตอบเชิงจิตวิทยา ที่ใช้ตบตาผู้สัมภาษณ์?
เจ้าของกิจการ ผู้บริหาร ผู้จัดการฝ่าย ผู้จัดการแผนก หัวหน้าแผนก และฝ่ายทรัพยากรบุคคล