หลักสูตร เจาะลึก ..การบริหารจัดการข้อพิพาทแรงงานที่ฝ่ายบุคคลหรือผู้บริหารควรทราบ

15 สิงหาคม 2561


หัวข้ออบรม

1. ข้อบังคับในการทำงานของนายจ้าง – ลูกจ้าง ต้องปฏิบัติตามอย่างไร?
2. นายจ้างจะแก้ไข – เปลี่ยนแปลง – ตัก – เพิ่ม ข้อบังคับในการทำงานต้องดำเนินการอย่างไร?
3. กฎหมายคุ้มครองแรงงานมีวัตถุประสงค์ เพื่อคุ้มครองลูกจ้างอย่างไร?
4. กฎหมายแรงงานสัมพันธ์มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้สิทธินายจ้าง – ลูกจ้าง อย่างไร?
5. การเขียนประกาศ – ระเบียบปฏิบัติ หรือคำสั่งที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมาย และไม่ขัดต่อข้อบังคับในการทำงานต้องเขียนอย่างไร?
6. มาทำงานสายเป็นอาจิน จะกล่าวโทษหรือเลิกจ้าง ต้องดำเนินการอย่างไร?
7. ลาป่วยเป็นอาจิน หรือเป็นเบอร์ 1 ของแผนกทุกปี ผจ.บุคคลจะแก้ปัญหาอย่างไร?
8. อนุมัติการลาที่ไม่ถูกระเบียบบ่อยๆ ผจ.บุคคลต้องดำเนินการอย่างไร?
9. ตำแหน่งงานใด ที่จะเรียกรับเงินประกันเข้าทำงาน
10. การอนุมัติปรับค่าจ้างประจำปี พิจารณาจากอะไร?
11. ไม่ได้รับการปรับค่าจ้างประจำปีเหมือนพนักงานอื่น จึงเข้าร้องทุกข์ ต่อ ผจ.บุคคล เพื่อเป็นการแก้ปัญหาให้ยุติลง ต้องดำเนินการอย่างไร?
12. คำว่าภายใน 1 ปี ไม่ปฏิบัติตนผิดช้ำคำเตือน จะนับตั้งแต่วันเกิดเหตุ หรือวันกล่าวโทษ 13. ทำสัญญาจ้างรับพนักงานใหม่เข้าทำงาน เมื่อถึงวันทำงาน นายจ้างบอกยกเลิกสัญญา ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงาน นายจ้างจะรับผิดอย่างไร?
14. ตามใบสมัครงานมีข้อความว่า ในระหว่างทำงานอยู่ หรือออกจากงานไปแล้วภายใน 2 ปี ข้าฯ ยินยอมที่จะไม่ทำงาน เพื่อหรือทำประโยชน์ให้กับงานที่มีลักษณะเดียวกันกับนายจ้าง เมื่อลูกจ้างผิดสัญญา นายจ้างฟ้องศาลแรงงาน เพื่อเรียกร้องค่าเสียหาย อดีตลูกจ้างจะรับผิดอย่างไร?
15. เมื่อเกิดปัญหาที่ข้อพิพาทแรงงงงานเกิดขึ้น ระหว่างหัวหน้างานกับผู้ใต้บังคับบัญชา จะมีวิธีหรือใช้เทคนิคอย่างไร ให้ปัญหายุติลงได้
16. องค์กรประสบกับปัญหาการจ่ายโบนัสประจำปี มีพนักงานชุมนุมในเวลาทำงาน เพื่อกดดันปัญหาที่เกิด ผจ.บุคคลจะใช้เทคนิคอย่างไร ที่จะเข้าไปไกล่เกลี่ยปัญหาให้ยุติลง
17. ลูกจ้างทำผิดอาญาต่อนายจ้าง จึงถูกเลิกจ้าง ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานเพื่อเรียกร้องสิทธิต่างๆ ผจ.บุคคลจะใช้เทคนิคอย่างไรให้ปัญหายุติลง โดยลูกจ้างถอนฟ้อง และจากกันด้วยดี
18. ก่อนเลิกจ้าง 10 ค่า ที่จะตรวจสอบให้ลูกจ้างมีอะไรบ้าง?
19. บอกเลิกจ้างให้ลูกกฎหมาย ต่อลูกจ้างที่รับค่าจ้าง เป็นวันต่อวัน - รับเป็น 15 วัน – รับค่าจ้างเป็นเดือน ต้องบอกกล่าวอย่างไร?
20. เลิกจ้างไม่ออกใบผ่านงาน ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงาน นายจ้างจะรับผิดอย่างไร?
21. เลิกจ้างไม่คืนเงินประกันการทำงานให้ ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงาน และเรียกดอกเบี้ยของเงินที่ฟ้องด้วย นายจ้างจะรับผิดอย่างไร?
22. ลูกจ้างยื่นใบลาออก โดยให้มีผลในวันสินเดือน วันต่อมาไม่มาทำงานหายไปเลย นายจ้างได้รับความเสียหาย ลูกจ้างจะรับผิดอย่างไร?
23. ทำผิดวินัยไม่ร้ายแรง ที่จะต้องกล่าวโทษเป็นหนังสือเตือน มีลักษณะของการกระทำอย่างไร?
24. ทำผิดวินัยร้ายแรง ที่จะต้องถูกเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย มีลักษณะของการกระทำอย่างไร?
25. การกระทำอันไม่เป็นธรรม คือการปฏิบัติอย่างไร?
26. การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม คือการเลิกจ้างอย่างไร?
27. เลิกจ้างลูกจ้างโดยไม่มีความผิด ไม่แจ้งเหตุผลใดๆ โดยจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า – ค่าชดเชยตามกฎหมาย – จ่ายเงินประกันการทำงานให้ – จ่ายเงินสะสมและเงินสมทบให้ ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานเพื่อเรียกร้องค่าเสียหาย จากการถูกเลิกจ้างไม่เป็นธรรม นายจ้างจะรับผิดอย่างไร?
28. ลูกจ้างร้องต่อ ผู้ตรวจแรงงาน ด้วยเหตุถูกเลิกจ้าง เมื่อสอบข้อเท็จจริงแล้ว มีคำสั่งให้ นายจ้างจ่ายเงินตามผู้ร้องเรียก นายจ้างไม่จ่ายตามคำสั่งของผู้ตรวจแรงงานสั่ง นายจ้างต้องฟ้องศาลแรงงานอย่างไร?
29. ลูกจ้างออกจากงานไปแล้ว ไปฟ้องศาลแรงงาน นายจ้างไม่ประสงค์จ้างทนายความ มีนโยบาย และมอบหมายให้ ผจ.บุคคล เข้าดำเนินการให้ถึงที่สุด ผจ.บุคคลต้องดำเนินการอย่างไร?
30. ขณะดำเนินการต่อสู้คดีในศาล จะปฏิบัติตนให้อยู่ในวินัยที่ดี ของศาลได้อย่างไร?
31. การเสนอข้อมูลในชั้นไกล่เกลี่ยของผู้ประนอมคดี จะเปิดช่องอย่างไร ที่จะทำให้การไกล่เกลี่ยตกลงกันได้
32. การต่อสู้คดีในศาลจะต้องศึกษาหาข้อมูล – จัดเตรียมเอกสาร – พยานต่างๆ เข้าแถลงต่อศาล เพื่อให้ศาลได้พิจารณา และตัดสินให้ชนะคดีอย่างไร?
33. การอุทธรณ์คำพิพากษาของศาล จะต้องศึกษาหาข้อมูล – จัดทำคำอุทธรณ์ที่ดี เพื่อเสนอต่อศาลให้ศาลพิจารณารับคำอุทธรณ์ เพื่อเสนอต่อศาลฎีกาอย่างไร?
34. เมื่อศาลฎีกาตัดสินคดีไปแล้ว คู่ความไม่ปฏิบัติตาม ต้องดำเนินการอย่างไร?
35. คำพิพากษาฎีกา 80 คดี ที่ตัดสินคดีแรงงานที่ผู้บริหารงานบุคคลควรรู้มีอะไรบ้าง?
    ถาม – ตอบ – แนะนำ


วิทยากร
อ.สมบัติ น้อยหว้า
ประวัติการทำงาน / ประสบการณ์
• เป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลาง 8 ปี
• เป็นผู้ประนอมคดีในชั้นศาลแรงงานกลาง
• เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน จดทะเบียนที่กระทรวงแรงงาน
• เป็นกรรมการ (บอร์ด) ค่าจ้างขั้นต่ำที่กระทรวงแรงงาน
• เป็นอนุกรรมการประกันสังคม สำนักงานใหญ่ จ.นนทบุรี
• เป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคล บริษัท ดับบลิว เอส เอส กรุ๊ป ประเทศไทย จำกัด
• เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษกฎหมายแรงงาน / กฎหมายประกันสังคม


คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

ฝ่ายบุคคล หัวหน้า นายจ้าง ผู้สนใจทั่วไป

วิทยากร

วิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายแรงงานต่างด้าว


สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมแกรนด์ สุขุมวิท กทม.

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

15 สิงหาคม 2561 9.00 น.- 16.00 น.

จัดโดย

HR DEE SOLUTION
เบอร์ติดต่อ : 087-0718100

ค่าธรรมเนียม (FEE)

2900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 1934 ครั้ง