หลักสูตร สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรภายใต้ข้อตกลงการเปิดเสรีทางการค้า20 เม.ย.2566
การประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศในปัจจุบันมีความแตกต่างจากอดีตมากมาย ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นเพราะนโยบายการตอบรับของรัฐบาลไทยส่วนหนึ่งและเป็นการเปลี่ยนแปลงจากนานาชาติอีกส่วนหนึ่งนอกจากนั้นนโยบายการเปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศไทยกับนานชาติก็ทำให้ระบบภาษีอากรลดลงเป็นปัจจัยสำคัญในการทำการค้าและก็ตามมาด้วยกฏระเบียบที่ต้องปฏิบัติที่เป็นกลไกให้การเปิดเสรีทางการค้าเป็นไปตามวัตถุประสงค์
สำหรับประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการปฏิบัติสำหรับการจัดเก็บภาษีใหม่หมดจากระบบพื้นฐานเดิมที่เป็นแบบ Manual ได้พัฒนากลายมาเป็นระบบEDI (Electronic Data Interchange) และในปัจจุบันก็ได้เปลี่ยนแปลงมาเป็นระบบไร้เอกสารที่เรียกว่า ebXMLพร้อมกันนี้ภาครัฐยังได้สนับสนุนให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าส่งออกร่วมมือกันพัฒนาเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกันเช่นการขออนุมัติหรืออนุญาตหรือแม้หนังสือรับรองต่างๆ ทางอิเลกทรอนิกส์โดยใช้ระบบNSW : National Single Window โดยมีศูนย์กลางคือกรมศุลกากร ซึ่งเป็นการปฎิบัติงานที่ได้ผลดีโครงการนี้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายเป็นอย่างดีทำให้เกิดความสะดวกในการปฏิบัติงาน อีกทั้งทุ่นเวลาและค่าใช้จ่ายในการทำงานมากขึ้นเป็นผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าของประเทศอย่างยิ่ง
หัวข้ออบรม
ทำไมต้องเปิดเสรีทางการค้า
FTAคืออะไร และมีกี่ประเภท?
FTAช่วยผู้ประกอบธุรกิจส่งออกและนำเข้าอย่างไร
หลักเกณฑ์การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรภายใต้ FTA
FTAที่มีผลบังคับกับประเทศไทย และที่อยู่ระหว่างเจรจากับประเทศไทย
วิธีการตรวจสอบสิทธิพิเศษภายใต้FTA
ทวิภาคี :JTEPA, TIFTA, TAFTA, TNZFTA, TPEFTA, TCHFTA, TPFTA, TTFTA, TSFTA, TEUFTA, T-EFTA
พหุภาคี : *WTO, ATIGA* ACFTA* AKFTA* AJFTA* AIFTA* AANZFTA* AHFTA* BIMSTEC* TCFTA*
ใช้สิทธิลดหรือยกเว้นภาษีศุลกากรภายใต้FTAได้อย่างไร
เอกสารการรับรองถิ่นกำเนิดมีอะไรบ้าง
กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (RULE OF ORIGIN)
เกณฑ์สูงสุดWO,
เกณฑ์นำเข้าวัตถุดิบมาผลิตRVC, CTC, SP
เกณฑ์ร่วมกันผลิตในภาคีเดียวกัน
ระเบียบปฏิบัติในการนำเข้าของไทยภายใต้FTA
การวางประกัน ด้วยเหตุแห่งความสงสัยว่าเอกสารจะผิดพลาด
หลักเกณฑ์เงื่อนไขพิธีการศุลกากรในการนำเข้า
สิทธิเกี่ยวกับการส่งมอบสินค้าแบบตรง (Direct Consignment & Transhipment)
การใช้สิทธิโดยการซื้อขายผ่านประเทศที่สาม (3rd Party Invoicing)
การออกแบบหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดแทนกัน (Back to Back)
การออกหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดย้อนหลังทำอย่างไร
การตรวจสอบหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดในการใช้สิทธิพิเศษ
กรณีได้สิทธิโดยยกเว้นหนังสือรับรองแหล่งกำเนิด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการออกเอกสาร และรับรองให้ออกเอกสารเองได้
ถาม-ตอบ
สามารถเรียนได้ทางคอมเเละมือถือ อยู่ที่ไหน ก้อสามารถเรียนได้ ผ่านระบบโปรเเกรมZOOM
หลักสูตรนี้มีคำตอบ ที่นี่
สนใจสมัครเพื่อรับองค์ความรู้ได้ที่ คุณกุ้ง0988209929 คุณกุ้ง
โปรโมชั่น
สมัครลงทะเบียน1 ท่าน ในราคาท่านละ2,500 บาท ไม่รวมvat 7%
สมัครเข้าอบรม4ท่าน ชำระเพียง3ท่าน
บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด (สำนักงานใหญ่)
เลขที่ 31/155 หมู่ที่ 1 ตำบลรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110
เลขประจำตัวผู้เสียภาษี: 0105557143661
ติดต่อสอบถาม
Tel :098-8209929 คุณกุ้ง
E-mail: [email protected]
Line id : @Tesstraining
Facebook : tesstrainingpage
ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร
Adminมายด์