หลักสูตรอื่นๆ ที่น่าสนใจ
ดูรายละเอียด คลิ๊ก www.dnsmt.com
• การปิดงบการเงิน
(ภาคปฏิบัติ) Complete Accounting Program สำหรับธุรกิจซื้อมา
ขายไป (CPD)
• การบัญชีต้นทุนผลิต
(ภาคปฏิบัติ)Cost Accounting Program (CPD)
• การอ่านงบการเงิน
การจัดทำงบกระแสเงินสด และนำเสนอในเชิงบริหาร (ภาคปฏิบัติ)(CPD)
• การบัญชีและภาษีเบื้อต้น
(ภาคปฏิบัติ)
• เจาะลึก
ประเด็นปัญหาสำหรับบัญชีสินค้าคงเหลือและรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
(CPD)
• การวางแผนสวัสดิการพนักงาน
กับพรบ.ประกันชีวิต ให้ถูกต้องทั้งทางบัญชีและภาษี (CPD)
• หลักสูตรพิเศษ
(สอนส่วนตัว) สำหรับผู้ที่ต้องการเรียนเป็นการส่วนตัว
เฉพาะเรื่องที่ต้องการทรา
• การบัญชีธุรกิจก่อสร้าง
(ภาคปฏิบัติ) (CPD)
• เทคนิคการอ่านงบการเงินให้เข้าใจ
(ภาคปฏิบัติ) (CPD)
• การวางแผนบัญชีและภาษี
สำหรับผู้จัดการ/ผู้บริหารมือใหม่ (ภาคปฏิบัติ) (CPD)
• การบัญชีสำหรับธุรกิจนำเข้า
ส่งออก (ภาคปฏิบัติ) (CPD)
• การวางระบบบัญชี
(ภาคปฏิบัติ) (CPD)
• การจัดทำงบการเงินให้ถูกต้องตามมาตรฐานบัญชี
• การบัญชีธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
(ภาคปฏิบัติ)
• การวางแผนภาษีสำหรับองค์กรอย่างถูกต้อง
• การใช้สูตร
และฟังค์ชั่นExcelเพื่อการใช้งานAdvanced Excel
• ภาษาอังกฤษธุรกิจสำหรับนักบัญชี
English Business Accounting
• แผนธุรกิจ (Business
plan)เพื่อวิเคราะห์โครงการลงทุน(Finance)(ภาคปฏิบัติ)
หัวข้ออบรม
วันที่ 1
- พื้นฐานการบันทึกบัญชีเบื้องต้น และกฎหมาย ตาม พรบ.การบัญชี2543ที่เกี่ยวข้องกับผู้ทำบัญชีควรทราบ
- การสร้างความเข้าใจถึงสมการบัญชี วงจรบัญชี การบันทึกบัญชี ผ่านแยกประเภท และออกงบทดลอง เพื่อออกงบการเงินต่อไป
- พื้นฐานในการวางระบบบัญชีที่ควรทราบ
- ผังบัญชี การจัดหมวดหมู่ เอกสารทางบัญชีให้สอดคล้องมาตรฐานบัญชีฉบับใหม่
- ความสำคัญการจัดทำสมุดรายวันเฉพาะหลักการจัดเตรียม Voucher (ใบสำคัญต่าง ๆ) และทะเบียนต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการควบคุมภายใน
- พื้นฐานการวิเคราะห์ประเภทธุรกิจ เพื่อให้ทราบถึงระบบบัญชีและภาษี
- ความแตกต่างระหว่างกำไร(ขาดทุน)ทางบัญชีและกำไร (ขาดทุน)ทางภาษี
- ความแตกต่างการบันทึกบัญชีสินค้าแบบ Periodic และแบบ Perpetual (เน้นการบันทึกบัญชีแบบ
Periodic)
- การฝึกปฏิบัติ โดยการบันทึกบัญชีตามเอกสารใบสำคัญ จากเอกสารใบสำคัญตัวอย่าง (เอกสารจริง) ในการทำงาน1 เดือน โดยเริ่มจากกิจการที่เปิดใหม่ ธุรกิจ ซื้อมาขายไป (เป็นการบันทึกบัญชีด้วยมือ)
- บันทึกบัญชีลงสมุดรายวัน ต่าง ๆ (โดยสถาบันจะจัดเตรียมแบบฟอร์มไว้ให้)
- การคำนวณการหัก ณ ที่จ่าย ภงด.3,53การจ่ายเงินเดือนพนักงาน การกรอกแบบภงด.1 และแบบฟอร์มประกันสังคม และการบันทึกบัญชีการจ่ายเงินเดือน
- ทำการผ่านรายการจากสมุดรายวัน ไปแยกประเภท
- เก็บรายละเอียดจากแยกประเภท เพื่อออกงบทดลอง สำหรับเดือน มกราคม
- การจัดทำ รายงานภาษีซื้อ ขาย การกรอกแบบ ภพ30
วันที่2 ฝึกปฏิบัติ พร้อมอธิบายทฤษฎี
- อธิบายการSet upโปรแกรมสำเร็จรูปบัญชีโดยทั่วไป
- นำยอดในงบทดลองในวันที่1บันทึกเป็นยอดยกมาในโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป บนคอมพิวเตอร์
- บันทึกบัญชีทั้งระบบ เน้นการปิดงบการเงินบนโปรแกรม เพื่อปิดงบการเงิน ครึ่งปี
- จัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ/บัญชีสินค้า (สต็อคการ์ด) ครึ่งปี
- จัดทำทะเบียนสินทรัพย์ และคิดค่าเสื่อมราคา
- การจัดทำรายงานมูลค่าคงเหลือสินค้าปลายงวด
- การจัดทำงบต้นทุนขาย (ครึ่งปี)
- ออกงบทดลอง (ครึ่งปี)
- หลักการจัดทำประมาณการกลางปี และการกรอกภงด.51
- การปรับปรุงบัญชี ตามมาตรา67 ทวิ และ67 ตรี (ครึ่งปี)
- หลักการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีกลางปีตามมาตรา 65ทวิ 65 ตรี
วันที่3 ฝึกปฏิบัติ พร้อมอธิบายทฤษฎี
- เน้นการบันทึกบัญชี โดยมีรายการที่เป็นประเด็นภาษีเพื่อให้เข้าใจการบันทึกบัญชีจริง (ในโปรแกรมสำเร็จรูป)
- จัดทำรายงานสินค้าคงเหลือ(ปลายปี) ตัวอย่างรายงานการตรวจนับสินค้า
- จัดทำงบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
- บันทึกรายการปรับปรุงสิ้นปี
- อธิบาย จัดทำรายละเอียดประกอบงบการเงินสิ้นปี (พร้อมให้ไฟล์ตัวอย่างเพื่อนำไปใช้งานได้)
- ออกงบทดลอง จัดทำกระดาษทำการรายการปิดบัญชีสิ้นปี
- การคำนวณภาษีนิติบุคคล (โดยมีเอกสารคำนวณประกอบ)นำไปใช้งานได้จริง
- การปรับปรุงกำไรทางบัญชี ให้เป็น กำไรทางภาษี ตามมาตรา65ทวิ65 ตรี (ภาคปฏิบัติ)
- ออกงบการเงินตามรูปแบบมาตรฐาน ฉบับใหม่ (สำหรับธุรกิจที่ไม่เกี่ยวข้องกับสาธารณะ)
- การจัดเตรียมเอกสารส่งผู้สอบบัญชี
- วิธีการกรอก แบบ ภงด50 อย่างถูกต้อง หลักเกณฑ์ ระยะเวลา และวิธีการยื่นแบบ ภงด.50 ต่อกรมสรรพากร
วันที่4
- หลักเกณฑ์ ระยะเวลา คำเตือน การยื่นแบบ สบช.3และงบการเงินต่อกระทรวงพาณิชย์
- ฝึกปฏิบัติ การกรอกแบบ สบช.3จากงบการเงินในวันที่3
- การจัดทำ บอจ.5
- ตัวอย่างจดหมาย เชิญประชุม และรายงานประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น
- ความรู้ภาษีเงินได้นิติบุคคล (เน้น การเสียภาษีจากฐานกำไรสุทธิ และมาตรา65 ทวี และมาตรา65 ตรี (ภาคทฤษฎี))
- ความแตกต่างระหว่างเช่าซื้อ ลิสซิ่ง (เน้นรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน10 คน) รวมทั้งการบันทึกบัญชีที่ถูกต้อง และทางด้านภาษี
- ความรู้ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่ายที่ผู้ทำบัญชีควรทราบ
- ความรู้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่ผู้ทำบัญชีควรทราบ
- ความรู้ภาษีบุคคลธรรมดา สิทธิการลดหย่อน
- ความรู้ภาษีธุรกิจเฉพาะ (เน้นดอกเบี้ยรับ สำหรับกิจการกระทำการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์)
- การนำเสนองบการเงินต่อผู้บริหาร
- การวิเคราะห์งบการเงินเบื้องต้น (เชิงบริหาร)
คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม
ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับบัญชี
คุณน้ำฝน