เข้าใจถึงความหมายและเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญของสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ปัจจัยสำคัญ ขั้นตอน และเครื่องมือขั้นพื้นฐานในกระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรม หลักการออกแบบสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ โดยรวมถึงความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ มนุษย์ สถาปัตยกรรม สภาพภูมิอากาศ และสภาพแวดล้อม การอาศัยพึ่งพาสภาวะแวดล้อมเพื่อให้เกิดภาวะน่าสบาย การอ่านตารางและการคำนวณแสงอาทิตย์ รวมถึงการออกแบบอุปกรณ์บังแดด ข้อควรพิจารณาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาคาร โดยคำนึงถึงการจัดรูปทรง ที่ว่างทั้งภายในและภายนอกอาคาร รวมทั้งสามารถพัฒนางานออกแบบให้เป็นแบบที่มีรายละเอียดมากขึ้น เพื่อการออกแบบที่เหมาะสม และสอดคล้องกับความเป็นไปได้ในการก่อสร้างจริง
ซึ่งผู้เข้าอบรมจะได้เรียนรู้ถึงหลักการออกแบบสถาปัตยกรรมขั้นพื้นฐาน ข้อกำหนดทางกฎหมายและเทศบัญญัติที่เกี่ยวข้อง หลักการคิดคำนวณในการออกแบบอย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงจงจรชีวิตของอาคาร รวมถึงเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ในการประเมินอาคารที่มีประสิทธิภาพทางพลังงานสูง และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
ระยะเวลา : 1 วัน (09:00-16:00 น.)
· ทำแบบทดสอบก่อนการอบรม (Pre-Test)
1. กระบวนการทางสถาปัตยกรรม (Architectural Life Cycle)
1.1 กระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรม (Architectural Design Process)
2. การศึกษาข้อมูลโครงการ (Architectural Analysis)
2.1. การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ใช้อาคาร(User Analysis)
2.1.1. Stakeholder Analysis
2.1.2. Activity Analysis
2.1.3. Timeline Analysis
2.2. การจัดกลุ่มกิจกรรมและพื้นที่ใช้สอย (Function Analysis)
2.3. การกำหนดพื้นที่ใช้สอย (Area Requirement)
2.4. การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ (Site Analysis)
2.4.1. Gerneral Analysis
2.4.2. Spectific Analysis
2.5. การวิเคราะห์อื่น ๆ
10:30-10:45 น. พักรับประทานของว่าง ชา กาแฟ 15 นาที
10:45-12:00 น. 3. การกำหนดแนวความคิดในการออกแบบ
3.1. การกำหนดเจตนาในการออกแบบ(Intention & Concept)
3.1.1. การมองเห็นปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหา
3.1.2. การแปลงแรงบันดาลใจสู่งานออกแบบ
3.2. การสร้างความสัมพันธ์พื้นที่ใช้สอย(Function Relationships Diagram)
3.3. การกำหนดบริเวณพื้นที่ในเชิงการวิเคราะห์ (Zoning)
12:00-13:00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 1 ชั่วโมง
13:00-14:30 น. 4. การออกแบบสถาปัตยกรรม
4.1. ทฤษฎีพื้นฐานการออกแบบเบื้องต้น
4.1.1. หลักการออกแบบพื้นฐาน(Basic Design Principle)
4.1.2. รูปทรงและที่ว่าง(Space & Form)
4.1.3. ความสัมพันธ์และการจัดวางที่ว่าง(Spatial Relation & Organization)
4.1.4. สัดส่วนและการรับรู้ความงาม(Proportion & Perception)
4.2. การสร้างทางเลือกในการออกแบบ(Schematic Design)
4.2.1. การจัดที่ว่างและการวางผัง(Zoning for design)
4.2.2. การทดลองผ่านหุ่นจำลอง(Mass Model)
4.3. การพัฒนาแบบ
4.3.1. การลงรายละเอียดการวางผัง เพื่อตรวจสอบการใช้งาน ทางสัญจรและช่องเปิด
4.3.2. การเลือกประเภทโครงสร้างและงานระบบประกอบอาคาร
4.3.3. การตรวจสอบความสัมพันธ์แนวตั้งผ่านรูปตัดอาคาร
4.3.4. การเลือกวัสดุและรูปด้านอาคาร
14:30-14:45 น. พักรับประทานของว่าง ชา กาแฟ 15 นาที
14:45-16:00 น. 5. หลักการออกแบบอาคารคาร์บอนสุทธิ์เป็นศูนย์ (Net Zero-Carbon Building)
6. กรณีศึกษาCase Study
ทำแบบทดสอบหลังการอบรม (Post-Test)
ดร. วิศรุต ดานาพงศ์
การศึกษา : -
Ph.D.of Architecture, Silpakorn University
-
Master of Architecture, Silpakorn University
-
Bachelor of Architecture, 2nd Class Honor, Silpakorn University
ตำแหน่ง : -
Faclty of Architecture, Silpakorn Uninversity, Bangkok
Basic
Design Studio
- Faculty of
Architecture, Sripatum University Bangkok
Advanced
Architectural Design / Computer for Presentation
-
Faculty of Architecture, Bangkok University, Pathum Thani Architectural
Design Fundamamentals