ยืนยันอบรม หลักสูตร เทคนิคการเจรจาเพื่อติดตามหนี้และกฎหมาย พ.ร.บ.ทวงหนี้

18 ธันวาคม 2567



วัตถุประสงค์

 

1. เพื่อให้การติดตามหนี้ได้มากขึ้นและมีผลงานทางด้านจัดเก็บหนี้สูงขึ้น

2. เพื่อพัฒนาบุคคลากร ให้เกิดความเข้าใจและสามารถนำทักษะจากการฝึกอบรมมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

3. เพื่อลดเวลาและลดต้นทุนในการติดตามหนี้ให้น้อยลง

 

หัวขัอการอบรม

1.          ปัญหาที่ทำให้การเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้มักเกิดจาก?            

2.          บทบาท และหน้าที่ &คุณสมบัติ ของพนักงานเร่งรัดฯ

3.           ทักษะการใช้โทรศัพท์ทวงหนี้

- การเตรียมพร้อม ก่อนจะโทรศัพท์ทวงหนี้

                                          - ลักษณะของเสียง และสไตล์ของน้ำน้ำเสียง

                                          - คำพูด,น้ำสียง,ภาษากาย สามารถบอกอะไรได้บ้าง  

                            4. ศิลปะในการสนทนาเพื่อรับมือกับลูกหนี้6ประเภท          

                            5. การเจรจาต่อรอง ( ความหมาย" การเจรจาต่อรอง")         

                            6. อำนาจในการต่อรอง

                            7.. ทางเลือกที่จะนำมาใช้แก้ความขัดแย้ง                                          

8. เวทีการเจรจาต่อรอง(Bargaining Arena)                                                        

9. กลยุทธ์สำคัญในการเจรจาต่อรองเพื่อติดตามหนี้มี6 ขั้นตอน

10. ข้อเสนอแนะนักเจรจาหนี้ 3 ประการ

11. กฏหมาย ที่ต้องทราบเกี่ยวกับการตามหนี้                                                                               

12. หนี้ที่บังคับได้ / หนี้ที่บังคับไม่ได้

13. พ.ร.บ. การติดตามทวงถามหนี้ ที่เป็นธรรม         ( ข้อปฏิบัติ/ข้อห้าม )

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรนี้:-

1. ทราบหลักการการใช้คำพูดอย่างไรจึงจะทำให้ลูกค้ายอมชำระหนี้

2. สามารถนำทักษะการเจรจาต่อรองมาใช้กับลูกค้าโดย"เราเก็บเงินได้และลูกค้ายังมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเรา"

3. สามารถนำจุดแข็งไปใช้และไม่เปิดจุดอ่อนให้ลูกค้าใช้เป็นข้ออ้างในการไม่ชำระหนี้

 


สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมจัสมินซิตี้ สุขุมวิท 23 ฺBTS อโศก

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

18 ธันวาคม 2567 9.00-16.00น.

จัดโดย

DTN Training
เบอร์ติดต่อ : 096-669-5554, 090 645 0992,064-325-4946

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 19 ครั้ง