ข้อกำหนดระบบคุณภาพระบบคุณภาพ ISO ISO9001:2015
(ISO9001:2015Requirement)
หลักการและเหตุผล
ISO 9001เป็นระบบการบริหารคุณภาพตามมาตรฐานสากล ที่มุ่งเน้นการพัฒนาองค์กรเพื่อสร้างความเชื่อมั่น และความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้วยข้อกำหนดตามระบบการบริหารคุณภาพ Quality Management System Requirements
ข้อกำหนดในระบบการบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015เป็นเรื่องที่สำคัญและจำเป็นต้องดำเนินตามข้อกำหนดของระบบการบริหารคุณภาพ ในการตรวจติดตามหรือบุคคลในองค์กรต้องทราบและประยุกต์ใช้กระบวนการในองค์กรให้ตรงตามข้อกำหนดอย่างถูกต้อง ดำเนินการอย่างถูกต้องเหมาะสมให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของระบบ และข้อกำหนดขององค์กร
วัตถุประสงค์:
1. เพื่อให้เกิดความเข้าแนวคิด หลักการและข้อกำหนดของระบบการบริหารคุณภาพตามมาตรฐานสากลISO 9001:2015
2. เพื่อให้สามารถนำประยุกต์ใช้ในกระบวนการในระบบงานองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หัวข้ออบรม: เวลา9:00น. ถึง16:00น.
Module1:หลักปรัชญาของระบบการบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015 · ความเป็นมาของระบบบริหารงานคุณภาพISO 9001:2015 · หลักปรัชญาของระบบบริหารงานคุณภาพQuality Management Principle · วงจรPDCAกับระบบบริหารงานคุณภาพISO 9001:2015
Module 2:ข้อกำหนดตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 Requirement |
|
||
|
|
1. ขอบเขตระบบบริหารคุณภาพISO 9001:2015 2. มาตรฐานอ้างอิง 3. คำศัพท์และคำนิยาม |
|
|
|
4. บริบทขององค์กรContext of the Organization 5. ความเป็นผู้นำLeadership 6. การวางแผนPlanning 7. การสนับสนุนSupport 8. การปฏิบัติการ Operation 9. การประเมินสมรรถนะ Performance Evaluation 10. การปรับปรุงImprovement · ความสอดคล้องแต่ละข้อกำหนดกับกระบวนการภายในองค์กร สรุป ถาม ตอบ วิทยากรให้คำแนะนำเพิ่มเติม |
|
กลุ่มเป้าหมาย
Internal AuditorTeam หรือพนักงานในองค์กร
รูปแบบการสัมมนา
1. บรรยายเนื้อหา หลักทฤษฎี ให้เข้าใจง่าย แบบการมีส่วนร่วมผู้เรียน
2. อธิบายตัวอย่างประกอบที่ชัดเจน
เทคนิคการเป็น Internal Audit ISO9001:2015 แบบมืออาชีพ
หลักการและเหตุผล
ยุคVUCAนี้มีความไม่แน่นอน ความไม่มั่นใจ ความซับซ้อน ความคลุมครือ เป็นความท้าทายสำหรับองค์กรในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง องค์กรต้องหาเครื่องมือหรือกระบวนการต่าง ๆ มาช่วยบริหารจัดการให้มีคุณภาพตั้งแต่เริ่มกระบวนการจนถึงมือลูกค้าทำให้เกิดความพึงพอใจ แต่ละองค์กรนำระบบบริหารคุณภาพ (ISO 9001) เข้ามาสร้างมาตรฐานการทำงานในองค์กร
หัวใจหลักของระบบการจัดการและปฏิสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่รับผิดชอบในองค์กร ตั้งแต่ของผู้บริหารสูงสุด นโยบาย วัตถุประสงค์ การวางแผน การนำไปใช้งาน การตรวจติดตาม การทบทวน จนถึงกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อความน่าเชื่อถือ องค์กรจึงต้องมีผู้ตรวจประเมินภายในองค์กนที่มีคุณภาพ
วัตถุประสงค์:
1. ผู้เข้าอบรมความเข้าใจแนวคิด หลักการของการเป็น Internal auditและข้อกำหนดของระบบการบริหารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2015
2. ผู้เข้าอบรมเข้าใจบทบาทของการเป็นทีมตรวจติดตามภายใน และกระบวนการตรวจติดตามทั้งหมดจนครบตามข้อกำหนดในการตรวจติดตาม
3. ผู้เข้าอบรมสามารถนำเทคนิคในการตรวจติดตามภายในของระบบการบริหารคุณภาพตามข้อกำหนดของระบบ ISO 9001:2015ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ผู้เข้าอบรมสามารถตั้งคำถามได้สอดคล้องกับข้อกำหนดของระบบคุณภาพ ISO 9001
หัวข้ออบรม:
|
|
Module 1:แนวคิด หลักการของการเป็นInternal auditและข้อกำหนดของระบบการบริหารคุณภาพตามมาตรฐานISO 9001:2015 · แนวคิด หลักการของการเป็น Internal audit · ทบทวนข้อกำหนดของระบบการบริหารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 · บทบาทของการเป็นทีมตรวจติดตามภายใน (Lead Auditor, Auditor team) · กระบวนการตรวจติดตามทั้งหมดจนครบตามข้อกำหนดในการตรวจติดตาม - การจัดทำการวางแผน - การออกคำสั่งแต่งตั้ง - การตรวจติดตามในแต่ละขั้นตอนให้สอดคล้องกับข้อกำหนด - การออก CAR และแบบฟอร์มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง - การสรุปและจัดทำรายงานการตรวจติดตามภายใน - ตัวอย่างแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง Workshop |
|
|
Module 2:การตั้งคำถาม Audit Check Listในการตรวจติดตาม · ความสำคัญของ Audit Check List · แบบฟอร์ม Audit Check List · ประเด็นคำถามที่จะต้องสอดคล้องกับข้อกำหนดในแต่ละแผนกในองค์กร · Workshop |
|
|
Module 3:เทคนิคการตรวจติดตามภายใน ตามระบบISO 9001:2015 · การเปิดประชุมที่ดี · การตรวจติดตามภายในตามระบบบริหารคุณภาพ · เทคนิคการสอบถาม และขอดูหลักฐานในการลงตรวจพื้นที่ในองค์กร · สิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติในการตรวจติกตาม · เทคนิคในการสื่อสาร การอธิบาย หากมีข้อขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างการตรวจติดตามภายใน · การปิดการประชุมที่ดี · การเขียน CAR และการเขียนสรุปรายงานการตรวจติดตาม · เทคนิคในการติดตามผลและปิด CAR |
|
|
|
วิทยากรให้คำแนะนำเพิ่มเติม สรุป ถาม-ตอบ
กลุ่มเป้าหมาย
Internal AuditorTeam หรือพนักงานที่จะแต่งตั้งในการเป็น Internal Auditor
รูปแบบการสัมมนา
1. การบรรยายแบบมีส่วนร่วม 30%
2. ฝึกปฏิบัติ Workshop/ฝึกปฏิบัติ 70 %