ไม่ใช่เพียงแค่HRที่ต้องศึกษาแต่ ทุกฝ่ายขององค์กร ไม่ควรพลาด...หัวข้อนี้"
ตัวอย่าง ความรับผิดของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ที่ไม่ปฏิบัติตามมีบทลงโทษทางอาญา ดังนี้
➢มาตรา79 ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลผู้ใดฝ่าฝืน ม.27 ว.1 หรือ ว.2 หรือไม่ปฏิบัติตาม ม,28 อันเกี่ยวกับข้อมูลส่วน
บุคคลตาม ม,26 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน-1 ปี หรือปรับไม่เกิน 500,000 -1,000,000 บาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ
➢มาตรา 82 ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม ม.19, ม.23, ม.30, ม.39, ม.41, ม.42 ค่าปรับไม่เกิน 1,000,000 บาท
➢มาตรา 83 ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม ม.21, ม.22, ม.25, ม.27, ม.28, ม.32 ค่าปรับไม่เกิน 3,000,000 บาท
➢มาตรา 84 ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม ม.26, ม.27, ม.28, ม.29 ค่าปรับไม่เกิน 5,000,000 บาท เป็นต้น
เนื้อหาหลักสูตร
การบรรยายภาคทฤษฎี
➢หลักการ เหตุผลของการตราPDPA Lawและเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัตินี้
➢ข้อมูลส่วนบุคคลคืออะไร และใครคือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
➢ในองค์กรภาคธุรกิจ หน่วยงานใดเกี่ยวข้องกับPDPA บ้าง
➢ผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคลมีใครบ้าง มีหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร
➢สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล มีอะไรบ้าง
➢โอกาส ความเสี่ยงของการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลขงองค์กรภาคธุรกิจที่ควรระมัดระวัง
➢การจัดการข้อมูลส่วนบุคคลของStoke Holderควรทำอย่างไร
➢การให้ความยินยอมและการใช้สิทธิของเจ้าขอข้อมูลส่วนบุคคล
➢ความรับผิดตามกฎหมายกรณีเกิดการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล
➢การดำเนินการสำหรับข้อมูลที่มีการเก็บรวมรวม ใช้ หรือเปิดเผยก่อนกฎหมายบังคับ
➢สิ่งที่ องค์กร จะต้องดำเนินการเมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้
กิจกรรมเชิงปฏิบัติการระหว่างการอบรม
นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม
เจ้าของกิจการ➢ผู้บังคับบัญชาทุกหน่วยงาน➢ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้เกี่ยวข้อง เช่น ลูกค้า ลูกจ้างซัพลายเออร์ ผู้มาติดต่อ
โรงแรมโนโวเทล สุขุมวิท 20
21 เมษายน 2564 เวลา 09:00-16:00 น.
บริษัท เบรนแอสเสท เซฟตี้ เทรนนิ่ง จำกัด http://www.perfecttrainingandservice.com/program.php?id=454
เบอร์ติดต่อ : 085-9386299
3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)