การวิเคราะห์ความล้มเหลวและผลกระทบ Failure Mode and Effects Analysis (PFMEA) AIAG & VDA 1st Issued

8 พฤษภาคม 2568



หลักการและเหตุผล

FMEAคือ เครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้ในการวิเคราะห์คาดการปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและสาเหตุที่อาจทำให้เกิดปัญหาจากประสบการณ์ในอดีตของทีมงานเพื่อหาแนวทางการป้องกันให้สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาไม่เกิดขึ้นทำให้ปัญหานั้นไม่เกิดขึ้น AIAG & VDA FMEA Handbookเป็นคู่มืออ้างอิงอุตสาหกรรมยานยนต์ใหม่สำหรับการวิเคราะห์โหมดความล้มเหลวและผลกระทบเพื่อใช้เป็นแนวทางในการช่วยเหลือซัพพลายเออร์ในการพัฒนา Design FMEA , Process FMEA,และSupplemental FMEAและการตอบสนองของระบบ คู่มือฉบับนี้พัฒนาด้วยทีมงานระดับโลกของOEM และซัพพลายเออร์ชั้นผู้เชี่ยวชาญTier 1 ซึ่งได้รวมแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดจากทั้ง Automotive Industry Action Group : AIAGกลุ่มปฏิบัติการอุตสาหกรรมยานยนต์ และThe German Association of the Automotive Industry : VDAสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์เยอรมนี ไว้ในแนวทางที่มีโครงสร้างที่กลมกลืนกัน

        นอกเหนือจากการทำให้ซัพพลายเออร์สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ง่ายขึ้นในกระบวนการพัฒนา FMEAคู่มือยังมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเช่นกระบวนการใหม่สำหรับการพัฒนา FMEA แนวทาง7 ขั้นตอน และบทใหม่เกี่ยวกับFMEAเสริมสำหรับการตรวจสอบและ การตอบสนองของระบบ (FMEA-MSR)การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเพิ่มเติม ได้แก่ :

   ตารางประเมินค่าความรุนแรงการ การเกิดขึ้น และการตรวจสอบที่แก้ไขโดยสิ้นเชิง

   วิธีการลำดับความสำคัญ (AP) และตารางเพื่อแทนที่RPN

   แผ่นแบบฟอร์มใหม่ (spreadsheet users)และมุมมองรายงานซอฟต์แวร์ (software users)

    ไฮไลต์จุดเปลี่ยนจากคู่มือFMEA AIAGฉบับที่4 และคู่มือVDAเล่ม4 FMEA

 

วัตถุประสงค์

   เพื่อให้ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ PFMEA ตามคำแนะนาของAIAG & VDA First Edition Issued June 2019

 

 

 

กำหนดการอบรม

9.00-12.00 น.          หลักการและแนวคิดพื้นฐาน

                              - FMEAคืออะไรและความหมาย

                              -การเปลี่ยนแปลง FMEA4thเป็นPFMEA AIAG & VDA 1st

                              -เมื่อไหร่จะเริ่มต้นทำ/ทบทวน FMEA

                              -ข้อกำหนด ข้อกำหนดIATFที่เกี่ยวข้อง

                              - 7 ขั้นตอนการจัดทำPFMEA

    การวิเคราะห์PFMEA AIAG & VDA 1st June 2019

     Step 1 Planning and Preparationการวางแผนและการเตรียมการ

                                -การระบุรายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน

                                -การตั้งทีมงาน

     Step 2 Structure Analysisการวิเคราะห์โครงสร้าง

                                   2.1 ระบบรายการกระบวนการ, ระบบย่อย, ชิ้นส่วนย่อย ชื่อกระบวนการ

                                   2.2 ขั้นตอนกระบวนการหมายเลขสถานีและชื่อของรายละเอียดย่อยจุดสำคัญ

                                   2.3 รายละเอียดย่อยของกระบวนการทำงาน4M

      Step 3 Function Analysisการวิเคราะห์หน้าที่

                              3.1 หน้าที่ของรายการกระบวนการ หน้าที่ของระบบ,ระบบย่อย, ชิ้นส่วนหรือกระบวนการ

                              3.2 หน้าที่ของลำดับขั้นตอนกระบวนการและคุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์

                              3.3 หน้าที่ของกระบวนการย่อยและคุณลักษณะพิเศษของกระบวนการ

       Step 4 Failure Analysisการวิเคราะห์ความล้มเหลว

                              4.1 การระบุผลกระทบความล้มเหลว

                              -เกณ์การประเมินค่า Severity (S) of FE

                              4.2 การะบุลักษณะความล้มเหลว

                              4.3การะบุสาเหตุที่ทำให้เกิดความล้มเหลว

                            - Work Shop      

12.00-13.00 น.      พักกลางวัน

13.00-16.00 น.    

    Step 5 PFMEA Risk Analysisการวิเคราะห์ความเสี่ยง

                              5.1 การระบุวิธีการควบคุมสาเหตุของความล้มเหลวFCในปัจจุบัน

                              -เกณ์การประเมินค่า Occurrence (O) of FC

                              5.2 การระบุวิธีการค้นพบความล้มเหลวFMและสาเหตุFC ในปัจจุบัน

                              - เกณ์การประเมินค่าDetection (D) of FC/FM

                              -เกณ์การประเมินค่า PFMEA AP

                             -  WORK SHOP

      Step 6 Optimizationการเพิ่มประสิทธิภาพ

                              6.1 การปรับปรุงวิธีป้องกัน

                              6.2 การปรับปรุงวิธีการตรวจจับ

                              -การประเมินผลหลังการปรับปรุง S,O,D & AP

      Step 7 Results Documentationเอกสารผลลัพธ์

                                -การจัดเตรียมข้อมูลผลการวิเคราะห์ และ ทำเป็นเอกสาร

     -   Post-test

     -  Q&A       

(พักเบรค10.30และ14.30)

 

 

กลุ่มเป้าหมาย : หัวหน้างานCORE TEAM NEW MODELวิศวกร และผู้ที่สนใจ

รูปแบบการอบรม: บรรยาย50% Work Shopและ ตัวอย่าง50% 

สิ่งที่ลูกค้าต้องเตรียม: ตัวอย่างProcess Flow chart , Control plan ,FMEA modelปัจจุบัน1ตัวอย่าง เพื่อ ทำWork shop

 


สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรม แรมแบรนท์ ซอยสุขุมวิท 18 ใกล้ BTS อโศก กรุงเทพฯ ** สถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

8 พฤษภาคม 2568 09.00-16.00 น.

จัดโดย

ดีทีเอ็นเทรนนิ่ง
เบอร์ติดต่อ : 096-669-5554 ,064-325-4946

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 14 ครั้ง