การปฐมพยาบาลและกู้ชีพเบื้องต้น First Aid – Basic life support Version 2025

22 มกราคม 2568



หลักการและเหตุผล

การเกิดอุบัติเหตุเป็นสิ่งที่ไม่มีใครที่จะสามารถคาดคิดได้ เพราะอุบัติเหตุมักจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาเสมอและแต่ละครั้งที่เกิดขึ้นก็มักจะมากับความเสียหาย ไม่ว่าจะเป็นชีวิตหรือทรัพย์สินเงินทอง อีกทั้งการเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากสภาพร่างกายหรือการเจ็บป่วยทั่วไป

ดังนั้น หลักสูตร"การปฐมพยาบาลและกู้ชีพเบื้องต้น" (First Aid-Basic Life Support Version 2020) จึงเป็นหลักสูตรที่จะสามารถทำให้ผู้เข้าอบรมเกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการและวิธีการในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธี ทั้งนี้ เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลภายในองค์กรอีกด้วย

 

 ประโยชน์ที่จะได้รับ

1.      เพื่อให้บุคลากรมีทักษะในการปฐมพยาบาลสามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้

อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล

2.      เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพในด้านการดูแลสุขภาพตนเองและบุคลากรในองค์กรได้าะสำคลา

หัวข้อการอบรม (Course Outline)

1.       หลักการปฐมพยาบาล/คุณสมบัติของผู้ปฐมพยาบาล (Principle-Qualification of First aid )

2.       การประเมินผู้บาดเจ็บระยะเร่งด่วนและทั่วไป (Survey-Casualty Assessment )

3.       การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บที่มีภาวะช็อค หมดสติเป็นลม (Shock coma and Fainting )

4.       บาดแผล ชนิดของบาดแผลและการปฐมพยาบาลบาดแผล( Wound and Type of wound )

5.       การตกเลือดและการห้ามเลือด (Haemorrhage and Control Bleeding )

·        ฝึกปฏิบัติการห้ามเลือดโดยการใช้ผ้ายืดและผ้าสามเหลี่ยม (Control bleeding with Bandage Practice )

·        การห้ามเลือดกรณีกระดูกหักแบบเปิดหรือมีวัสดุปักคา( Improvise Donut Shape for Opened Fracture )

6.       การบาดเจ็บกล้ามเนื้อ ข้อและกระดูกและการปฐมพยาบาล (Muscle Joint and Bone injury )

·        ฝึกปฏิบัติการใช้ผ้ายืดสำหรับบาดแผลปิด ( Elastic bandage Practice for closed wound )

·        ฝึกปฏิบัติการดามกระดูก (Splint and Taping for fracture of bone Practice )

7.       การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บจากไฟฟ้า ไฟไหม้น้ำร้อนลวก (Burn - Electrical injury )

8.       การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บจากสารพิษ-สิ่งแปลกปลอม( Chemical burn -Poison-Foreign )

9.       การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ ท่าและวิธีการของการเคลื่อนย้ายที่เหมาะสม (Lifting and Moving casualty )

·        ฝึกปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บโดยboard ( Long Spinal Board Practice )

 

ปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน Basic Life Support

 

1.       การประเมินผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น (Assessment Casualty of Heart failure )

2.       ข้อบ่งชี้ในการกู้ชีวิต (Indicator for Cardio-Pulmonary Resuscitation )

3.       การสาธิตการกู้ชีวิตในผู้ใหญ่ เด็กโต และเด็กเล็ก(Demonstration of CPR for Adult , Child , Infant )

4.       ฝึกปฏิบัติการกู้ชีวิต (Cardio-Pulmonary Resuscitation Practice )

5.       สาธิตการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าภายใต้การควบคุมของแพทย์ (Automated External Defibrillation Demonstrate )

6.       สรุป คำถามและคำตอบ

 

รูปแบบการอบรม:  บรรยาย, พร้อมยกตัวอย่างประกอบ, ถาม-ตอบ ,ฝึกปฏิบัติทุกขั้นตอน

 

**ทุกท่านที่ผ่านการฝึกอบรม จะได้รับ Certificate มีอายุรับรองระยะเวลา2ปีนับจากวันที่เข้าอบรม **

หากท่านต้องการต่ออายุ Certificate จำเป็นต้องลงทะเบียนใหม่ทุก ๆ 2 ปี  เพื่อเป็นการUpdate ความรู้และทักษะใหม่ ๆ เพิ่ม

 

หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ :  บุคลากรด้านความปลอดภัย และ บุคคล


สถานที่อบรม (VENUE)

สถานที่ โรงแรมโกลด์ออร์คิดกรุงเทพ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท**สถานีอาจมีการเปลี่ยนแปลง

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

22 มกราคม 2568 09.00-16.00 น.

จัดโดย

ดีทีเอ็นเทรนนิ่ง
เบอร์ติดต่อ : 096-669-5554 ,064-325-4946

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 19 ครั้ง