หัวข้ออบรม 09.00-16.00
หลักการและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องในการควบคุมสารปนเปื้อน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยานยนต์
-. ข้อกำหนดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Life Cycle Assessment : LCA)
-. ข้อกำหนด Carbon Footprint for Product : CFP
-. ข้อกำหนด Carbon Footprint for Organization : CFO
-. ข้อกำหนดการจัดการควบคุมข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับ ISO 50001 บรรยาย / ทฤษฎี ผู้เข้าอบรมมีส่วนร่วมในการออกความคิดเห็น สื่อสาร 2 ทาง ·
หลักการและข้อกำหนดในการควบคุมสารปนเปื้อน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยานยนต์ SOC / ELV / RoHs 1.0 / RoHs 2.0 / REACH Annex VI / XV / XIV / AVII / SVHC / PFOS / PFOA / DMF / VOC / MDA / SCCPs / POPs / Prop65 / ELV Annex II / ELV Waste Packaging Waste / Lead in Solder / CMR / GADSL / · ข้อกำหนด 76/769/EC ·
สูตรและหลักในการคำนวณปริมาณสารเคมีกลุ่มเสี่ยงสูง
SVHC ในผลิตภัณฑ์ · สูตรและหลักในการคำนวณปริมาณสารเคมีกลุ่ม Wild card / Joker (Misc., not to declare) ในผลิตภัณฑ์ บรรยาย /
ทฤษฎี ผู้เข้าอบรมมีส่วนร่วมในการออกความคิดเห็น สื่อสาร 2 ทาง
12.00 น. – 16.00 น. ·
หลักการและข้อกำหนดในการควบคุมสารปนเปื้อน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยานยนต์ (ต่อ) IMDS / IMDS-a2 / IMDS-AI / CAMDS / CDX etc.
ข้อกำหนด 3R (Reuse / Recycle / Recovery) Recyclability และ Recoverability ตามข้อกำหนดมาตรฐาน ISO 22628 ·
ขั้นตอนการจัดทำ Organization SOC เพื่อยื่นขออนุมัติ ·
การดำเนินการวางระบบ QMS การควบคุมสารปนเปื้อนในองค์กร ·
การดำเนินการควบคุม SOC กับผู้รับจ้างช่วงผลิต (Suppliers) ·
การจัดทำ Flow chart
การจัดการความผิดปกติ เกี่ยวกับเรื่อง SOC ·
การทบทวนระเบียบปฏิบัติการเรื่องการควบคุมการเปลี่ยนแปลงด้าน SOC ระหว่างลูกค้า และ Suppliers ·
บทบาทหน้าที่ การดำเนินการและความสำคัญของแต่ละส่วนงาน ·
การดำเนินการควบคุมตรวจและทดสอบ SOC
ภายในและภายนอกองค์กร ·
การควบคุมผู้ส่งมอบ
วิธีการดำเนินการ กรณีที่ผู้ขายไม่ให้เข้าไปตรวจประเมิน ·
การดำเนินการ Audit Suppliers ด้าน SOC ·
การจัดทำรายงานการควบคุมสารปนเปื้อนตามมาตรฐานสากลเพื่อยื่นอนุมัติ ·
ข้อกำหนด 3 R (Reuse / Recycle / Recovery )พพเกาาส่
คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม
หัวหน้างาน ฝ่ายที่เกี่ยวข้องสนใจ
อาจารย์ พิทักษ์ บุญชม