การจัดทำระบบการควบคุมสารต้องห้ามในผลิตภัณฑ์ สำหรับการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ชิ้นส่วนไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิ

12 ธันวาคม 2562

หลักการและเหตุผล

            เนื่องจากธุรกิจด้านอุตสาหกรรมยานยนต์  อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์  และอุตสาหกรรมไฟฟ้า  ผู้รับจ้างช่วงผลิตในแต่ละลำดับขั้นได้ผลิตสินค้า และส่งมอบตามลำดับขั้น และส่งเข้าไปจนถึงโรงงานประกอบหรือ OEM/REM ซึ่งผลิตภัณฑ์จำเป็นต้องปราศจากสารปนเปื้อนที่เป็นพิษและส่งผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต  นั่นก็คือสารเคมีที่จัดอยู่ในจำพวกสารโลหะหนักนั่นเอง อาทิ  โครเมียม แคดเมียม ปรอท ตะกั่ว และอื่น ๆ  ซึ่งผู้ประกอบการต้องมีความรู้ ความเข้าใจอย่างเพียงพอ  เพราะนอกจากผู้ประกอบการจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียนที่ว่าด้วยเรื่องควบคุมสารปนเปื้อน คือ  SOC / ELV / RoHs 1.0 / RoHs 2.0 / REACH Annex VI / XV / XIV / AVII / SVHC / PFOS / PFOA / DMF / VOC / MDA /  SCCPs / POPs / Prop65 / ELV Annex II / ELV Waste Packaging Waste / Lead in Solder / CMR / GADSL / IMDS / IMDS-a2 / IMDS-AI / CAMDS / CDX etc. ข้อกำหนด 3R (Reuse / Recycle / Recovery) Recyclability และ Recoverability ตลอดจนข้อกำหนดสารเคมีชนิดอื่น ๆ ที่ทางOEM   และหน่วยงานที่ทำการควบคุมและบังคับใช้กฎหมาย ได้ประกาศฯ ควบคุม หรือห้ามใช้ ซึ่งเป็นข้อกำหนดที่ทุกบริษัทฯ และต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ตลอดจนต่อไปในอนาคต ดังนั้นทุกโรงงาน/บริษัท ไม่ว่าจะเป็นเทรดดิ้ง จำเป็นต้องดำเนินการจัดทำหรือวางระบบเพื่อใช้ในการดำเนินการควบคุมผู้ส่งมอบ(Suppliers) , ดำเนินการควบคุมสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ภายในองค์กรและรองรับการAudit จากลูกค้าและหน่วยงานอื่น ๆ และSupport ข้อมูลต่าง ๆ ให้กับคู่ค้าของตนได้อย่างครบถ้วนและถูกต้อง

               ผู้รับช่วงผลิต (Suppliers) จะต้องแนบข้อมูลรายงานต่าง ๆ เหล่านี้แนบในเอกสารอนุมัติ "อนุมัติชิ้นส่วนการผลิต(PPAP)"  เพื่อเป็นการรับประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์ของตัวเองว่า  ปราศจากสารปนเปื้อนและเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย ซึ่งผู้รับช่วงผลิต (Suppliers) ต้องไม่มีโอกาสผิดพลาดแม้แต่ครั้งเดียว เพราะนั่นหมายถึง องค์กรของท่านจะถูกย้ายเข้าไปอยู่ในบริษัทฯ กลุ่มเสี่ยงที่อันตรายทันที  และทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายจำนวนมหาศาล

วัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม

  1.  เพื่อให้เข้าใจเป้าหมายการควบคุมสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดข้อกฎหมายอุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์
  2. 
เพื่อให้เข้าใจขั้นตอนและวิธีการดำเนินการควบคุมสารต้องห้ามหรือสารอันตรายที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์ในผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องและเป็นไปตามข้อกำหนดของอุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์
  3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจและเขียน Quality Manual, Suppliers Manual, Procedure, Work Instruction etc.ด้านการควบคุมสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ภายในองค์กร , การรองรับการAuditจากลูกค้า
  4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจขั้นตอนการบริหารจัดการSuppliers,การAuditSuppliers

หัวข้อการอบรม

1.             หลักการและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องในการควบคุมสารปนเปื้อนผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์

    -      ข้อกำหนดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Life Cycle Assessment :LCA)

    -     ข้อกำหนดCarbon Footpirnt for Product : CEP

    -     ข้อกำหนดCarbon Footprint for Organization : CFO

    -     ข้อกำหนดการจัดการควบคุมข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับ ISO 50001

2.     การควบคุมสารปนเปื้อนผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์

3.      End of Life Vehicle (ELV)

    -     ELV Annex II / ELV Waste packaging waste

    -     MDA / SCCPs / POPs / CMR

    -     RoHs  1.0 / 2.0 / WEEE

    -     REACH  (Annex VI / XV / XIV / XVII SVHC

    -     Lead in Slodering

4.     ข้อกำหนดสารกันความชื้นซิลิกาเจลหรือ DMF

5.     ข้อกำหนดPFOS / PFOA / 76 / 769 / EC

6.     ขั้นตอนการจัดทำOrganization SOC  เพื่อยื่นขออนุมัติจากลูกค้า

7.     Job Description ผู้รับผิดชอบด้านการควบคุมสารต้องห้าม

8.     การเขียนQuality Manual, Suppliers Manual Procedure, Work Instruction etc.

9.     การจัดทำsuppliers Audit Check sheet

10.   การดำเนินการวางระบบ QMS  การควบคุมสารต้องห้ามในองค์กร

11.   การดำเนินการควบคุม SOC  กับผู้รับจ้างช่วงผลิต (Suppliers)

12.   การจัดททำ Flow chart  การจัดการความผิดปกติ  เกี่ยวกับเรื่องSOC

13.   การทบทวนระเบียบปฏิบัติการเรื่องการควบคุการเปลี่ยนแปลงด้าน SOC  ระหว่างลูกค้า และSuppliers

14.   บทบาทหน้ที่ การดำเนินการและความสำคัญของแต่ละส่วนงาน

15.   การดำเนินการควบคุมตรวจและทดสอบ SOC ภายในและภายนอกองค์กร

16.   การควบคุมผู้ส่งอบ วิธีการดำเนินการ กรณีที่ผู้ขายไม่ให้เข้าไปตรวจประเมิน

17.   การดำเนินการ Audit Suppliers ด้านSOC

18.   การจัดทำรายงานการควบคุมสารปนเปื้อนตามมาตรฐานสากลเพื่อยื่นอนุมัติ

19.   Workshop

    -     ขั้นตอนการจัดทำOrganization SOC  เพื่อยื่นขออนุมัติจากลูกค้า

    -     Job Descriptionผู้รับผิดชอบด้านการควบคุมสารต้องห้าม

    -     การเขียนQuality Manual, Suppliers Manual, Procedure, Work Instruction etc.

    -     การจัดทำSuppliers Audit Check sheet


รายละเอียดหลักสูตรอื่น ๆ ที่นี่  http://www.hrdenter.com

สำรองที่นั่ง ติดต่อเพิ่มเติมได้ที่  คุณธนนันท์    0906450992 , 0896060444,Line : hrdzenter

คุณอิศราภรณ์ 089 773 7091

www.hrdzenter.com ,E-mail : [email protected] ,www.facebook.com/hrdzenter, IG : hrd_zenter

 

วิธีการชำระเงิน

เช็คสั่งจ่ายในนาม   บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด

โอนเงินเข้าบัญชีนาม บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด

>>ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาเซ็นทรัลพลาซาลาดพร้าว บัญชีออมทรัพย์ เลขที่  206-237-1740

(กรุณาส่งสำเนาใบฝากเงิน พร้อมใบสมัครมายังบริษัทเพื่อยืนยันการชำระเงิน และใช้เป็นหลักฐานการสมัครทางอีเมล์ :[email protected],Line : hrdzenter


วิทยากร

วิทยากร   อาจารย์พิทักษ์ บุญชม



สถานที่อบรม (VENUE)

Arize Hotel ซอยสุขุมวิท 26 กทม. ใกล้ BTS พร้อมพงษ์

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

12 ธันวาคม 2562 09.00 - 16.00

จัดโดย

บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 089-606-0444 , 090-645-0992

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 723 ครั้ง