การขายฝากสำหรับทรัพย์รายใหญ่ - เล็ก (สัมมนา) รุ่นที่ 14

20 เมษายน 2567

ธุรกิจจำนอง-ขายฝากเป็นอย่างไร ทำธุรกิจขายฝาก อย่างสุจริต ไม่ทำร้ายใคร

แต่ยังได้กำไรจากการดำเนินงาน ทำได้อย่างไร 

โรงแรม โรงเรียน อาคารสำนักงาน อะพาร์ตเมนต์ โรงงาน  รีสอร์ต รถหรู เรือยอร์ช จะขายฝากได้อย่างไร 

มาฟังผู้รู้จริงอันดับหนึ่งของประเทศไทยที่ทำกิจการขายฝากโดยตรงมาให้ความรู้โดยตรง 

โรงเรียนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไทย เชิญผู้ทำกำไรจากธุรกิจจำนอง-ขายฝากจริง มาให้คำตอบ ทุกข้อสงสัยของท่าน
กลั่นจากประสบการณ์ตรงช่วยให้ท่านสามารถเริ่มต้นในธุรกิจได้จริง

เหมาะสำหรับ

ผู้ที่ต้องการทำธุรกิจขายฝากมือใหม่
นักลงทุนขายฝากที่ต้องการต่อยอดลงทุนทรัพย์ใหญ่

  • มารู้จักแบบของสัญญาขายฝาก   สำหรับอสังหาริมทรัพย์ (คือทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้)  
    และสัญญาการขายฝากอสังหาริมทรัพย์ชนิดที่เคลื่อนย้ายได้ เช่น แพเรือยนต์ รถหรู เรือยอร์ช สัตว์พาหนะ
  • มาทำความเข้าใจข้อตกลงไม่ให้ผู้ซื้อฝากจำหน่ายทรัพย์สินที่ขายฝาก 
  • มาเรียนรู้ให้กระจ่าง-เท่าทันถึงกำหนดเวลาในการไถ่ทรัพย์สินทั้งอสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์
  • โมเดลธุรกิจขายฝาก แบบไม่ทำร้ายใคร แต่ยังได้กำไร
  • ข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับการเช่าซื้อ จำนอง ขายฝาก
  • กรณีศึกษาคดีในธุรกิจขายฝาก
  • ปัจจัยเสี่ยง และ แนวทางป้องกันในการทำธุรกิจ
  • ความรู้และทักษะคัดเลือกทรัพย์ และทักษะจำเป็นอื่นๆ ในธุรกิจจำนอง-ขายฝาก
  • การประเมินค่าทรัพย์สินและประมาณราคาที่จะรับซื้อฝาก
  • ช่องทางการลงทุน ในธุรกิจจำนอง-ขายฝาก ต้องใช้เงินทุนแค่ไหน มีวิธีการอย่างไร
  • โมเดลธุรกิจขายฝาก แบบไม่ทำร้ายใคร แต่ยังได้กำไร
  • ข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับการเช่าซื้อ จำนอง ขายฝาก
  • กรณีศึกษาคดีในธุรกิจขายฝาก
  • หลักการบริหารเงินในธุรกิจจำนอง-ขายฝาก
  • โอกาสความสำเร็จในธุรกิจจำนอง-ขายฝาก
  • ปัจจัยเสี่ยง และ แนวทางป้องกันในการทำธุรกิจ
  • ความรู้และทักษะคัดเลือกทรัพย์ และทักษะจำเป็นอื่นๆ ในธุรกิจจำนอง-ขายฝาก
  • ประสบการณ์ของผู้สำเร็จในธุรกิจ
  • กระบวนการต่อยอด จากธุรกิจขายฝาก
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
คุณเล็ก สัญชัย
02-295-2294 ต่อ 114
Line id:@trebs


สถานที่อบรม (VENUE)

ณ โรงเรียนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไทย

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

20 เมษายน 2567 08:30 - 17:00 น.

จัดโดย

โรงเรียนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไทย
เบอร์ติดต่อ : 02-295-2294 ต่อ 114

ค่าธรรมเนียม (FEE)

4900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 91 ครั้ง