Onsite การ REFINANCE แก้ไขหนี้เสีย ปรับโครงสร้างหนี้ ขาดสภาพคล่อง เพิ่มทุนหมุนเวียน จะเขียนแผนธุรกิจ

27 - 28 พฤษภาคม 2565


 หัวข้อเรื่อง ...การ  REFINANCE  แก้ไขหนี้เสีย  ปรับโครงสร้างหนี้  ขาดสภาพคล่อง เพิ่มทุนหมุนเวียน จะเขียนแผนธุรกิจอย่างไร(มุมมองธนาคาร)

        ราคา 8,000.-บาท/ต่อคน/2 วัน

     REFINANCE  สินเชื่อรีไฟแนนซ์ ย้ายวงเงิน 10 ล้าน100 ล้าน1,000 ล้าน

ทำอย่างไร ?

     หนี้เสียปรับโครงสร้างหนี้ติด BLACKLIST, ขาดสภาพคล่องเพิ่มทุนหมุนเวียน จะแก้หนี้อย่างไร ?    

_______________________________________________________________

หลักการและเหตุผล

เนื้อหาหลักสูตรมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

 

     วิเคราะห์งบการเงินขั้นสูงความเสี่ยงภาวะอุตสาหกรรมนโยบายแต่ละธนาคารฯ

     แหล่งที่มา/ใช้ไปของเงินทุนภาวะดอกเบี้ยเงินกู้ทุกธนาคารต้นทุนการกู้+ระยะเวลากำไรคืนทุน

     การบริหารจัดการงบกระแสเงินสด/ การพยากรณ์ธุรกิจ

     ภาวะการตลาด+แนวโน้ม(FORECAST)/ความเป็นไปได้ของแผนโครงการ/แผนธุรกิจ

     ความสามารถในการชำระหนี้(DSCR) ตามสัญญาจุดคุ้มทุน/อัตรากำไรต่อวงเงินหมุนเวียน TIMING

     กรณีธุรกิจมีปัญหาการเงิน (หนี้เสียNPLS, ปรับโครงสร้างหนี้,  ขาดสภาพคล่อง,  หนี้ขาดผ่อน 3 เดือน หรือ ขาดผ่อนมากกว่า 9 เดือนหนี้มีประวัติ BLACKLIST)  ควรเตรียมตัว วางแผนธุรกิจแก้ปัญหาอย่างไร

     ในการขอสินเชื่อกับธนาคาร วิธีการ/การปฏิบัติ ควรวางแผนเช่นไร

     การ REFINANCE  ควรวางแผนอย่างไร  ต้นทุนลด ดอกเบี้ยถูก ผ่อนระยะยาว หลักทรัพย์คงที่หรือ ขอสินเชื่อไม่มีหลักประกันค้ำ เป็นต้น

     การวิเคราะห์ความเสี่ยง ภาวะอุตสาหกรรม ของงบกระแสเงินสด  งบดุล งบกำไรขาดทุน

 

             วิชานี้ไม่มีขายในโรงเรียน ไม่มีขายในมหา'ลัย  เป็นตำรานอกโรงเรียน

             หลักการเขียนแผนธุรกิจ มีสาระสำคัญ คือ มุมมองนโยบายธนาคาร 

 

จุดเด่น 

     ใบอนุญาตของศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษา สนง.บริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง ได้ขึ้นทะเบียนที่ปรึกษาประเภทอิสระ  หมายเลข 5302 ระดับ 3  (ลว.17 มิถุนายน 2562 )

     ประสบการณ์การเขียน ตั้งแต่ปี 2540 (ยุค IMF) เป็นต้นไป เขียนมากว่า 50 กว่าเล่ม

              

วัตถุประสงค์

 

1)  เพื่อต้องการเผยแพร่วิชาชีพ จากการค้นคว้าและงานวิจัย(RESEARCH)  ออกสู่สาธารณะชนที่ธนาคารไม่เคยเปิดเผยมาก่อน และเจ้าหน้าที่สินเชื่อธนาคาร จะเรียบเรียงคำพูดเป็นภาษากลางๆๆ ไม่พูดตรงไปตรงมาว่า  "สินเชื่อไม่อนุมัติเพราะอะไร ??" ...... 

      

2)  วิชานี้เหมาะกับกลุ่มลูกค้า คือใคร

       ตอบ  ทุกสาขาอาชีพ กล่าวคือ

     นักธุรกิจผู้ประกอบการเจ้าของกิจการ,  ผู้บริหารฯผู้จัดการผู้ช่วยผู้จัดการเจ้าของโรงงาน

     นักศึกษา ระดับวุฒิ ปวสป.ตรี/ป.โท/ป.เอกคณาอาจารย์,

     พนักงานธนาคาร(ผู้บริหาร,ผู้ช่วยผู้บริหาร,ผู้อำนวยการฝ่ายฯ,ผู้จัดการภาค,ผู้จัดการเขต,ผู้จัดการสาขา,ผู้ช่วยผู้จัดการสาขา,เจ้าหน้าที่สินเชื่อ)

     นักขายหรือตัวแทนประกันชีวิต/ประกันภัย(ระดับผู้อำนวยการ,ผู้อำนวยการฝ่ายฯ,ผู้จัดการภาค,ผู้จัดการเขต,ผู้จัดการหน่วย

และตัวแทนขายประกันชีวิต)

     ผู้ที่ให้ความสนใจ

 

3)    ต้องการเผยแพร่วิชาชีพ จากการค้นคว้าและงานวิจัย(RESEARCH) จากประสบการณ์การทำงานธนาคารมากว่า 36 ปี  ออกเรียบเรียงเป็น

     ภาษาการบัญชีงบการเงินอัตราส่วนทางการเงิน,  โครงสร้างทางการเงิน,โครงสร้างบัญชีต้นทุนการตลาดการพยากรณ์ธุรกิจ CASHFLOW, บัญชีงบดุลบัญชีกำไรขาดทุนการเปรียบเทียบวิเคราะห์งบการเงิน, SWOT ANALYSIS, PROJECT FEASIBILITY FINANECIAL ANALYSIS.

     ภาษาบริหารธุรกิจการตลาด ( 4P'S, 6P'S, 8P'S, 5C'S, SWOT ANALYSIS, KPI, EFFICIENCY RATIO, RATIO FINANECIAL, BUSINESS FORECASTING,การพยากรณ์ธุรกิจแบบเอ็กโปแนนเชียล (EXPONENTIAL SMOOTHING METHOD) และแหล่งที่มา/ที่ใช้ไปของเงินทุน,)

     ภาษาเศรษฐศาสตร์ เชิงปริมาณ   

 

4)  วิชานี้มีประโยชน์อะไร ?

   ตอบ    -  เพื่อยื่นขอสินเชื่อจากธนาคาร

-     เพื่อนำไปบริหารงานองค์กร รู้แผนเป้าหมาย,  รู้การตลาดรู้-โครงสร้างทางการเงิน,  โครงสร้างต้นทุน และการทำกำไรขององค์กร แบบยั่งยืน  

-     บอกเข็มทิศชี้นำเป้าหมาย หลักการบริหารองค์กร จุดอ่อน จุดแข็ง ปัญหาอุปสรรค และการสร้างโอกาส

-     ตอบโจทย์ ให้กับองค์กรนั้นๆ ชี้เป้าหมายในการพยากรณ์ธุรกิจ และแนวโน้มการบริหารขององค์กร ว่าจะเดินไปเส้นทางใด

-     เพื่อขอเพิ่มทุนสะสม ในส่วนของผู้ถือหุ้น ร่วมทุน

-     เพื่อเป็นรายงาน ฐานะทางการเงินของบริษัทฯ ประจำปี โดยแจ้งปิดงบบัญชีการเงิน  ให้กับหน่วยงานราชการ คือ กรมพาณิชย์จังหวัด และกรมสรรพากรจังหวัด

-     เป็นรายงาน ผลประกอบการของบริษัท ประจำปี

-     สามารถนำไปตรวจสอบ การเงินส่วนบุคคลการเงินส่วนของบริษัทฯ องค์กรว่าจะสามารถกู้เงินได้หรือไม่?? รู้จุดอ่อน จุดแข็งตนเอง

 

5)  สามารถนำไปต่อยอดอย่างไร ? 

               ตอบ   - รู้จุดอ่อน จุดแข็ง,วิเคราะห์งบการเงินอัตราส่วนทางการเงิน

-     สามารถนำไปพยากรณ์ธุรกิจ แนวโน้มในอนาคต 1-3 ปีได้ว่าบริษัท จะมีผลกำไรขาดทุน เท่าไหร่ ? ในแต่ละปี  และปีอนาคต

-     รู้การตลาด และแนวโน้มตลาด ทั้งในปีปัจจุบันและอนาคต

-     รู้คู่แข่งขัน ในปัญหาและอุปสรรค

-     รู้ผลิตภัณฑ์สินค้า การเข้าถึงผู้บริโภค

-     รู้จัก การจัดการบริหารสินค้าคงคลัง

-     รู้จัก การจัดการบริหารลูกหนี้การค้า

-     รู้จัก การจัดการเจ้าหนี้การค้า

-     สามารถนำความรู้ ไปต่อยอดเปิดอาชีพใหม่ คือ "รับเขียนแผนธุรกิจ/แผนโครงการ/BUSINESS PLAN." ในมุมมองนโยบายธนาคาร

ได้อีก สามารถหารายได้อิสระ = 10,000-100,000 บาท/เล่ม 

 

6)  พื้นฐานความรู้การศึกษา ที่จะเรียนรู้ "เขียนแผนธุรกิจ"

-     การศึกษา จบอะไรมาก็เรียนได้ ขอให้มีประสบการณ์การทำงาน

หรือเป็นเจ้าของกิจการ อย่างน้อย 2 ปี

-     แนวทางการสอน สอนจากประสบการณ์การทำงานธนาคาร

-     สอน FINANECIAL  80% (นโยบายธนาคาร) และการตลาด 20%

-     ควรมีพื้นฐานความรู้ ด้านการบัญชีการตลาดบริหารธุรกิจ และเศรษฐศาสตร์ เชิงปริมาณ จะเข้าใจได้ง่าย

 

7)  ตัวอย่าง  

-     มีนักธุรกิจหญิง วัย 68 ปี ต้องการขายโรงงานแคปหมู 30 ล้าน

-     สามีเสียชีวิต(ไป 12 ปี) ไม่มีทายาท   มีหลานมาช่วยดูแลกิจการ

-     มีคนงาน 30 คน

-     มีรถยนต์ 6 คัน (รถเก๋ง 1 คัน,รถหกล้อ 1 คันรถปิคอัพ 4 คัน)

-     มีโรงงานมีสำนักงานมีบ้านพักคนงานมีอุปกรณ์+เครื่องจักร

-     มีบ้านอยู่อาศัย+ที่ดิน หลังใหญ่ มูลค่า 6.0 ล้าน อยู่ในพื้นที่โรงงาน

-     จบการศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 3

-     มีตู้แช่แข็งคอนเทนเนอร์ 2 ตู้

-     มีประสบการณ์ในกิจการ อายุงาน 45 ปี

-     เนื้อที่ดิน(โรงงาน) ประมาณ 4 ไร่

-     มียอดขาย เฉลี่ยเดือนละ 2.80 ล้าน/ปีละ 33.60 ล้าน

-     มีลูกหนี้การค้า 1,860 ราย (ตัวแทนร้านค้าส่ง-ปลีก)

-     มีวงเงินกู้ 3.0 ล้าน และโอดี 2.0 ล้าน กับธนาคารกรุงเทพ       

 

คำถาม  จะเขียนแผนธุรกิจอย่างไร ในวงเงิน 30 ล้าน ??

 

  รูปแบบ/กรอบการอบรม

สถานที่อบรม (VENUE)

อบรมแบบพบอาจารย์ จัดอบรมที่ NOVOTEL สุุขุมวิท20

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

27 - 28 พฤษภาคม 2565 09:00-16:00

จัดโดย

บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด (สำนักงานใหญ่)
เบอร์ติดต่อ : 0991629559

ค่าธรรมเนียม (FEE)

8000 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 287 ครั้ง