เทคนิคการสั่งซื้อวัตถุดิบเพื่อการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ (Material Requirements Planning) : 6 มิถุนาย

6 มิถุนายน 2567


MRP (Material Requirements Planning)คือ แผนหรือตารางความต้องการวัตถุดิบ (Items) ในแต่ละวันของการผลิต และตามสูตรการผลิต (Bill of Material: BOM)ของสินค้าหนึ่ง ๆ ดังนั้นMRPจึงขึ้นอยู่กับความต้องการวัตถุดิบจากสูตรการผลิตและตามปริมาณที่ลูกค้าต้องการ (dependent demand)เช่น แผนความต้องการขวดเปล่าเพื่อบรรจุน้ำอัดลม หรือ ฝาขวด,ฉลากปิดขวด, น้ำตาล และแก๊ส รวมถึงแผนความต้องการน้ำดิบบริสุทธิ์เพื่อนำไปกรองและผสมตามสูตรการผลิต โดยสามารถบรรจุขวดและวางลงในกล่องหีบห่อได้อย่างเพียงพอ โดยตารางความต้องการวัตถุดิบหรือMRPมีหัวข้อที่สำคัญคือ

1.    Gross Requirements คือ จำนวนสินค้าสำเร็จรูปที่ต้องการทั้งหมดในแต่ละสัปดาห์หรือแต่ละวัน

2.    Scheduled Receipts คือ ตารางการรับวัสดุที่ต้องการทั้งหมดในแต่ละสัปดาห์หรือแต่ละวัน

3.    Projected Stock Balance คือ จำนวนวัตถุดิบที่คาดหวังว่าต้องมีให้พร้อมเพื่อรองรับการผลิตในแต่ละสัปดาห์หรือแต่ละวัน

4.    Net Requirements คือ จำนวนวัตถุดิบที่ต้องการสุทธิทั้งหมดในแต่ละสัปดาห์หรือแต่ละวัน

5.    Planned Order Receipts คือ แผนการรับวัตถุดิบในแต่ละสัปดาห์หรือแต่ละวัน

6.    Planned Order Releases คือ แผนการสั่งวัตถุดิบในแต่ละสัปดาห์หรือแต่ละวัน

หัวข้อต่าง ๆเหล่านี้ล้วนนำมาใช้ในการสร้างตารางMRPให้เกิดความสมบูรณ์ โดยมีข้อมูลประกอบเพิ่มเติมคือLead timeของการจัดส่งสินค้าของแต่ละ Supplierและ ปริมาณสินค้าคงคลังที่นับได้ล่าสุดอีกด้วย

วัตถุประสงค์ :

1.    เพื่อสามารถผลิตสินค้าและส่งมอบได้ทันตามที่ลูกค้ากำหนด

2.    เพื่อลดเวลาการรอคอยวัตถุดิบจากSupplier ที่มีLead timeการส่งมอบที่ยาวนานได้

3.    ลดเวลาการDowntime ของเครื่องจักรที่เกิดจากการป้อนวัตถุดิบไม่ทันหรือไม่เพียงพอ

4.    ลดปริมาณและต้นทุนสินค้าคงคลังทั้งวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูป และสินค้าสำเร็จรูปลงได้

5.    ลดต้นทุนการผลิตสินค้าจากการผลิตแบบ Just in time (JIT)

6.    ลดต้นทุนการจัดซื้อ จัดหา

7.    ลดความแปรปรวนของการผลิตและแผนการผลิตประจำวัน

8.    ลดปริมาณสินค้าSafety Stock

9.    ลดพื้นที่การจัดเก็บสินค้าในคลังสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ

10.  สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้อย่างยั่งยืน

หัวข้อเนื้อหา :

1.    ระบบMRP (Material Requirements Planning)คืออะไร วัตถุประสงค์และประโยชน์

2.    ระบบMRP (Material Requirements Planning)และS&OP (Sales and Operation Planning)

3.    การพยากรณ์ความต้องการสินค้าของลูกค้า (Customer Demand Forecasting)กับการพยากรณ์การขาย (Sales Forecasting)

4.    การวิเคราะห์และคาดการณ์ยอดขายสินค้า (Sales Predictive Analytics)

5.    ขั้นตอนของกระบวนการทำระบบMRP

6.    ความแตกต่างระหว่างMPS (Master Production Schedule)กับMRP (Material Requirements Planning)

7.    การคำนวณตารางMRP (Master Production Schedule)

8.    การตั้งสูตรการผลิตสินค้า (Bill of Material : BOM)

9.    การคำนวณตารางMRP (Material Requirements Planning)

10.  MRPกับการจัดการคลังสินค้าและควบคุมสินค้าคงคลัง

11.  ต้นทุนสินค้าคงคลัง (Cost of Inventory)

12.  ระบบEOQ (Economic Order Quantity)

13.  การหาจุดการสั่งซื้อซ้ำ (Re-order Point : ROP)

14.  การกำหนดปริมาณสินค้าในคลังสินค้าเพื่อความปลอดภัย (Safety Stock)

15.  กลยุทธ์การวางแผนการผลิตและการจัดซื้อแบบ Just in Time (JIT for Planning & Purchasing)

รูปแบบการฝึกอบรม :  

·การบรรยาย

·อภิปรายเชิงปฏิบัติการ

·ให้คำปรึกษา

กลุ่มเป้าหมาย :

ผู้จัดการโรงงาน/ ผู้บริหารระดับกลาง หรือเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร ฝายวางแผนการผลิต ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายคลังสินค้า วิศวกร

วิทยากร : อาจารย์ อนันต์ ดีโรจนวงศ์

 

ราคาท่านละ 3,900 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)

ราคาสุดพิเศษอย่างยิ่ง

ลงทะเบียน 4 ท่าน ขึ้นไปท่านละ 2,900 บาท

ราคาดังกล่าว ฟรี

1) เอกสารประกอบการสัมมนา (เข้าเล่ม)

2) ใบประกาศผ่านการอบรม

3) อาหารเบรก 2 มื้อ อาหารกลางวันบุฟเฟ่ต์โรงแรม รับกระเป๋าผ้าสมุดปากกา หน้างาน

 

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: [email protected]

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร

www.tesstraining.com

www.inwtraining.com

 


คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

หัวหน้างาน พนักงาน ผู้สนใจ

สถานที่อบรม (VENUE)

จัดอบรม ผ่านระบบ Online Zoom Meeting

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

6 มิถุนายน 2567 09.00-16.00

จัดโดย

ฝึกอบรม เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด
เบอร์ติดต่อ : TEL : 098-820-9929 / 092-624-7032/โทร 099-162-9559

ค่าธรรมเนียม (FEE)

2500 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 50 ครั้ง