หลักสูตร ความรู้ การนำเข้า-ส่งออก ทั้งระบบ ภาษีเเละพิธีการศุลกากรภายใต้กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ 10-11 ก

10 กันยายน 2562


หลักสูตร ความรู้ การนำเข้า-ส่งออก ทั้งระบบ ภาษีเเละพิธีการศุลกากรภายใต้กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่10-11กันยายน2562

การนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเติบโตมากขึ้นตามความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ และการตกลงทางการค้าว่าด้วยเขตการค้าเสรี (FTA) โดยมีหลักการที่พยายามลดอุปสรรคทางการค้าลง โดยเฉพาะการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีระหว่างคู่สัญญา เนื่องจากขั้นตอนการนำเข้าสินค้ามีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และมีปัญหาทางด้านต้นทุน

            ผู้ประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าจะต้องทำความเข้าใจและศึกษาข้อปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อให้การประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้มค่ากับความตั้งใจการลงทุน

วันที่(บรรยายโดย อ.วัชระ ปิยะพงษ์)

ครบเครื่องเรื่อง การ "นำเข้า-ส่งออก" ทั้งระบบ

  • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออก

การไหลของวงจรการนำเข้า-ส่งออก ที่สำคัญ

กระบวนการนำเข้า

กระบวนการส่งออก

การเจรจา การทำสัญญาในการทำธุรกรรมนำเข้า-ส่งออก

กระบวนการส่งหรือรับสินค้าเมื่อเกิดรายการขาย หรือ ORDER ในการนำเข้า-ส่งออก

  • ขั้นตอนการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนในการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก

เอกสารทางการเงิน (FINANCIAL DOCUMENT)

เอกสารทางการขนส่ง (TRANSPORT DOCUMENT)

เอกสารทางการค้า (COMMERCIAL DOCUMENT)

  • กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน
  1. กำหนดผู้ซื้อเป้าหมาย

          1.1เลือกผู้ซื้อเป้าหมาย

   1.2ตรวจสอบสถานภาพทางการเงินของผู้ซื้อ

   1.3เสนอขาย

  1. การทำสัญญาข้อตกลงในการซื้อขาย

          2.1ข้อควรระวัง

   2.2เงื่อนไขในสัญญาต้องมีเพื่อลดความเสี่ยง

   2.3พิจารณาข้อกำหนดทางการค้า

  1. วิธีการส่งสินค้าออกและการหาระวางบรรทุกสินค้า

การขนส่งทางทะเล การขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางรถไฟ การขนส่งทางรถบรรทุก และส่งสินค้าทางพัสดุภัณฑ์ทางอากาศ

  1. วิธีการส่งมอบสินค้าต้องอาศัยข้อกำหนดทางการค้าเป็นตัวกำหนด เพื่อไม่ให้เสียเปรียบ (INTERNATIONAL  COMMERCIAL TERMSหรือINCOTERMS ® 2010)

EXW (EX-WORKS)

FCA (FREE CARRIER)

FAS (FREE ALONGSIDE SHIP)

FOB (FREE ON BOARD)

CFR (COST AND FREIGHT)

CPT( CARRIAGE PAID TO)

CIF (COST INSURANCE AND FREIGHT)

CIP (CARRIAGE AND INSURANCE PAID TO)

DAT (DELIVERED AT TERMINAL)

DAP (DELIVERED AT PLACE)

DPP (DELIVERED DUTY PAID)

  1. การวิเคราะห์เครื่องมือในการชำระเงิน

    O LETTER OF CREDIT (L/C) ชำระด้วยแล็ตเตอร์ออฟเครดิต

    O BILLS FOR LECTION (D/P & D/A) ตั๋วเรียกเก็บผ่านธนาคาร

    O CONSIGNMENT  การฝากขาย

    O OPEN ACCOUNT (O/A) ผู้ขายเปิดบัญชีขายเชื่อให้กับผู้ซื้อ

    O CASH ADVANCED PAYMENT การชำระเงินล่วงหน้าหรือการชำระด้วยเงินสด

  1. การวิเคราะห์LETTER OF CREDIT โดยละเอียด

    O เงื่อนไขที่เสียเปรียบที่ไม่ควรรับ

    O การเตรียมเอกสารและการตรวจเอกสารโดยใช้ข้อบังคับของ UCP 600 เป็นตัวพิจารณา

    O การขอแก้ไข L/C (AMENDMENT) ที่ถูกต้อง

  1. การขอให้มีการยืนยันการชำระเงินเพื่อลดความเสี่ยง
  2. การNEGOTIATE ตั๋วในการส่งออกกับธนาคาร
  3. การทำINSURANCE ในการส่งออก
  4. วิธีการโอนL/Cให้กับผู้อื่น

10.1การโอนจำนวนเงินทั้งหมดใน L/C

10.2การโอนบางส่วนเพื่อรับเงินผลต่าง (ตั๋วประกบ)

10.3การโอนให้กับผู้รับโอนมากกว่าหนึ่งราย

  1. เทคนิคเบื้องต้นในการป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ด้วยFORWORD CONTRACT, SPOT CONTRACT,ฯลฯ
  2. แนวทางในการเลือกประกันภัยเพื่อคุ้มครองสินค้าที่จัดซื้อจากต่างประเทศ
  3. แนวทางในการเลือกวิธีการขนส่งสินค้าที่สั่งซื้อจากต่างประเทศที่คุ้มค่า ปลอดภัย ทันเวลา และเหมาะสมกับสินค้า

วันที่2 (บรรยายโดย อ.วิชัย มากวัฒนสุข)

พิธีการศุลกากร กฎหมายภาษีศุลกากร พ.ร.บ.ศุลกากรฉบับใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลง

  1. การจดทะเบียนเป็นผู้ผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร
  2. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า-ส่งออก ที่สอดคล้องกันและใช้ต่อเนื่อง
  3. การประเมินราคาศุลกากร ค่าขนส่ง ค่าประกันภัย ค่าสิทธิ (ROYALTY FEE)
  4. พิกัดอัตราศุลกากร การลดอัตราอากร ยกเว้นอากร การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีอากรกรณีFTA
  1. พิธีการศุลกากรนำเข้า-ส่งออก และการตรวจปล่อยสินค้าผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-IMPORT, E-EXPORT)
  2. ราคาศุลกากร /ระบบราคาGATT
  3. การตรวจสอบพิกัดอัตราอากร และรหัสสถิติ
  4. การสงวนสิทธิ์และวางประกันโต้แย้ง และการอุทธรณ์การประเมินอากร
  5. แนวทางป้องกันและการแก้ไขปัญหาทางพิธีการศุลกากรการนำเข้า-ส่งออกในระบบอิเล็กทรอนิกส์
  6. การใช้สิทธิประโยชน์ในการนำเข้า-ส่งออก
  7. พ.ร.บ.ศุลกากร ที่ปรับเปลี่ยนใหม่ พ.ศ.2560 /หลักเกณฑ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่
  8. จุดเปลี่ยนแปลงของพิกัดอัตราศุลกากรใหม่AHTH2017 ที่จะกระทบรายได้-รายจ่ายของกิจการพร้อมหลักเกณฑ์ใหม่ที่ถูกต้อง
  9. การเปลี่ยนแปลงบทบัญญัติว่าด้วย "การขนส่งด้วยคอนเทนเนอร์" จะกระทบกับผู้ใช้และผู้ให้บริการอย่างไร / การเปลี่ยนเรื่อง "การผ่านแดนและการถ่ายลำ" มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เป็นต้น
  10. การเปลี่ยนแปลงบทลงโทษกรณีซื้อหรือรับไว้ซึ่งของเนื่องด้วยความผิด มาตรา27

     -ต้องดูเจตนาของผู้กระทำความผิดด้วยหรือไม่

สถานที่อบรม: โรงแรมอะไรซ์ สุขุมวิท26

ฟรีเอกสารประกอบการอบรม อาหารว่าง2มื้อ และอาหารกลางวัน

ติดต่อสอบถามจัดหลักสูตร IN HOUSE & PUBLIC TRAINING

TEL : 02-577-5369, 099-162-9559, 098-323-7908

E-MAIL: [email protected]

LINE ID : @TESSTRAINING

โรงแรมอไรซ์ สุขุมวิท ซ.26

ราคาดังกล่าว ฟรี

1) เอกสารประกอบการสัมมนา (เข้าเล่ม)

2) ใบประกาศผ่านการอบรม

3) อาหารเบรก 2 มื้อ อาหารกลางวันบุฟเฟ่ต์โรงแรม รับกระเป๋าผ้าสมุดปากกา หน้างาน

 

ติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: [email protected]

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร

 


คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม ผู้ประกอบการนำเข้า-ส่งออกสิ้นค้า ผู้ที่มีหน้าที่หรือรับผิดชอบงานที่เกี่ยวข้อง ผู้สนใจทั่วไป

วิทยากร

อาจารย์วัชระ ปิยะพงษ์


สถานที่อบรม (VENUE)

สถานที่อบรม:โรงเเรมอะไรซ์ สุขุมวิท 26 ติด BTS สถานีพร้อมพงษ์

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

10 กันยายน 2562 09.00-16.00

จัดโดย

ฝึกอบรม บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด (สำนักงานใหญ่)
เบอร์ติดต่อ : 098-8209929 02-577-5369

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3,900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 4717 ครั้ง